จ่ายค่าจ้างพนักงานใช้หลักฐานอะไรบันทึกบัญชี

จ่ายค่าจ้างพนักงานใช้หลักฐานอะไรบันทึกบัญชี


ทุกครั้งที่นิติบุคคลจ่ายค่าบริการ จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป  
กรณีลืมหักภาษี ณ ที่จ่าย จะสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่? หลักการพิจารณาให้แยกพิจารณาทีละภาษี

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

•ค่าบริการนั้นเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ
•รู้ว่าผู้ให้บริการคือใคร (สามารถกรอกข้อมูลหักภาษี ณ ที่จ่ายได้)
•มีการจ่ายเงินไปจริง

*นำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้
*เป็นค่าใช้จ่ายต้องห้าม

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

กรมสรรพากรบอกว่าถ้าเราลืมหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือผู้ให้บริการไม่ยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย เราจะต้องควักเงินจ่ายค่าภาษีแทน

* ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่เราควักจ่ายแทน ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามเพราะไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ (ยกเว้นมีสัญญาตั้งแต่ต้นว่ากิจการจะเป็นผู้ออกภาษีหัก ณ ที่จ่ายให้)

จ่ายค่าบริการลืมหักภาษี ณ ที่จ่ายเลือกอะไรดีระหว่าง

1.โยนบิลค่าใช้จ่ายทิ้ง
2.ควักเงินออกภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทน

หลักคิดคือ ถ้าบริษัทมีผลประกอบการที่กำไร ปกติเมื่อบริษัทมีกำไรจะเสียภาษีในอัตรา 15-20% ของกำไรทางภาษี ดังนั้นถ้าเราโยนบิลค่าใช้จ่ายทิ้งจะส่งผลทำให้เราเสียภาษีเพิ่ม 15-20% เลยทีเดียว ในขณะที่ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่นำส่งแค่ 1-5% เท่านั้นเอง แม้จะรวมค่าปรับยื่นแบบล่าช้าก็ไม่ถึง 15% ดังนั้นไม่ควรโยนบิลทิ้ง

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!


อบคุณบทความจาก : kknaccounting

 724
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs การที่จะประสบความสำเร็จนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย และก็ไม่ใช่เรื่องยาก วันนี้มีเรื่องของการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT มาให้ทำความเข้าใจกัน ว่าทำไมธุรกิจของท่านนั้นถึงต้องจัดการให้เข้าสู่ระบบภาษี ต้องเตรียมเอกสารเยอะแค่ไหน ดูเป็นเรื่องน่าปวดหัวอยู่ไม่น้อย แต่ก็ถือว่าเป็นอีกหนึ่งก้าวแห่งการเติบโตในธุรกิจที่จะขึ้นในภายภาคหน้า สำหรับท่านที่ยังไม่เข้าใจ “ภาษี” แต่เรื่องนี้ก็ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด ตราบใดที่ทำตามขั้นตอนก็สบายมากๆ
สมุห์บัญชีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จะต้องตรวจสอบอยู่เสมอว่า บัญชีย่อยเจ้าหนี้จะมียอดรวมตรงกับบัญชีคุมยอดเจ้าหนี้การค้า...
ในช่วง Covid-19 อย่างงี้ อยู่บ้านปลอดภัยที่สุด กรมสรรพากรแนะนำให้ผู้ประกอบการและประชาชนทำธุรกรรมทางภาษีที่บ้าน “TAX from Home”  ง่าย สะดวก ปลอดภัย ไม่ต้องเดินทาง ป้องกัน การแพร่ระบาดของ COVID – 19 และยังได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมการใช้บริการ ชำระภาษีออนไลน์จากธนาคารที่ร่วมโครงการอีกด้วย
เชื่อว่ามีหลายคนเลยทีเดียวที่คิดว่า ภาษีที่ดินกับภาษีบำรุงท้องที่เป็นภาษีชนิดเดียวกัน เพียงแต่มีคนเรียกให้ต่างกันเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว ภาษีทั้งสองชนิดแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และด้วยความเข้าใจที่ผิดเพี้ยนไปนี้เอง ทำให้หลายคนไม่รู้ว่าตนเองต้องจ่ายภาษีอะไรกันแน่ ยิ่งถ้าหากเป็นเจ้าของที่ดิน นายหน้า และเหล่านักอสังหาริมทรัพย์ ยิ่งต้องแยกให้ออกว่า ระหว่างภาษีทั้งสองประเภทต่างกันอย่างไร ที่สำคัญคือ ภาษีเหล่านี้ใน พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับใหม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์