sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเปิด สำนักงานบัญชี มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
อยากเปิด สำนักงานบัญชี มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเปิด สำนักงานบัญชี มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
อยากเปิด สำนักงานบัญชี มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
ย้อนกลับ
สำนักงานบัญชี
เป็นคำที่คุ้นหู และเคยได้ยินควบคู่กับการทำประกอบธุรกิจมานาน และนักบัญชีที่จบบัญชีบางส่วนก็
อยากจะเปิดสำนักงานบัญชี
เพราะการเปิดสำนักงานบัญชีไม่ใช้เรื่องยาก แต่ก็ ไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิด ขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ คือ ถ้ามองจากผู้ที่ผ่านประสบการณ์ต่างๆ
ในการทำงานเกี่ยวกับบัญชี ไม่ว่าจะอยู่ในตำแหน่งไหน รับผิดชอบงานส่วนไหน หรือ ด้านไหนของธุรกิจ แล้วพบเจอปัญหาที่ยาก เกินความสามารถ หรือ รับผิดชอบไม่ไหว กับผลกระทบจากการทำงานผิดพลาดต่างๆ ทำให้มุมมองในการเปิดสำนักงานบัญชีเป็นเรื่องที่ยากในความคิดของคนนั้น
แต่ ถ้าเป็นคนที่มีประสบการณ์ในการทำงาน แล้วผ่านการทำงานด้วยประสบการณ์ที่ดี แก้ไขปัญหาที่พบเจอได้ไม่ยาก และ รับผิดชอบกับงานที่เกิดความผิดพลาดไหว ก็อาจทำให้ความคิดในการเปิดสำนักงานบัญชีเป็นเรื่องง่ายสำหรับคนนั้น แต่ไม่ก็ง่ายเลยซะทีเดียว ที่การเปิดสำนักงานบัญชีนั้นจะประสบความสำเร็จได้มีองค์ประกอบหลายอย่าง จะยกตัวอย่างหลักๆ ให้เห็นได้ชัด ว่าการเปิดสำนักงานบัญชีได้ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง เช่น
1.ผู้ที่จะเปิดสำนักงานบัญชี จะต้องมีผู้ทำบัญชีที่จบบัญชีตามที่กฎหมายรับรอง และสามารถขึ้นชื่อเป็นผู้ทำบัญชีได้
2.สำนักงานบัญชีต้องมีความน่าเชื่อถือ เพราะเป็นงานบริการ ไม่สามรถจับต้องได้ ทำให้การเริ่มต้นในการหาลูกค้านั้นทำได้ยาก ทำให้ต้องมีทักษะในการสื่อสาร หรือ สร้างความน่าเชื่อถือ เพื่อให้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า
3.เมื่อทำบัญชีเสร็จตามรอบระยะเวลาบัญชี จะต้องมีผู้สอบ ที่สามารถเซ็นรับรองงบการเงินได้ เพราะผู้ที่ลงชื่อทำบัญชี ไม่สามารถเซ็นรับรองงบการเงินเองได้
หลักๆ ที่ยกตัวอย่างมา เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ใช้ประกอบการตัดสินใจในการเปิดสำนักงานบัญชีปัญหาที่จะต้องพบเจอยังมีอีกมากมาย แต่ไม่ยากเจอความสามารถของผู้ที่มีความ ขยัน ตั้งใจ และ อดทน ซึ่งเป็นคุณสมบัติของนักบัญชีที่จะต้องมี
สุดท้าย สิ่งที่สำคัญและเป็นหัวใจหลักของการเปิดสำนักงานบัญชี ที่จะไม่พูดถึงไม่ได้ คือ
จะต้องมีจรรยาบรรณของนักบัญชี
อีกด้วย
โปรแกรมบัญชี ฟังก์ชันที่ตอบโจทย์สำนักงานบัญชี นักบัญชี
!
ที่มา : www.สํานักงานบัญชี.com
สำนักงานบัญชี
ผู้ทำบัญชี
9527
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
เลือกใช้ โปรแกรมเงินเดือน หรือ โปรแกรมบัญชี ให้เหมาะกับธุรกิจคุณ
เลือกใช้ โปรแกรมเงินเดือน หรือ โปรแกรมบัญชี ให้เหมาะกับธุรกิจคุณ
ในปัจจุบัน การบริหารจัดการทางด้านต่อการจัดการการเงินและด้านทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในธุรกิจ และในยุคดิจิตอลนี้ ก็มี software มากมาย ที่เป็นตัวเลือกให้ธุรกิจได้ตัดสินใจเลือกใช้ เพราะแต่ละโปรแกรมก็มี Features แตกต่างกันออกไป หรือบางโปรแกรมก็สามารถทำให้ทั้งสองโปรแกรมนี้ทำงานร่วมกันได้ แล้วจะเลือก
โปรแกรมเงินเดือน
หรือ
โปรแกรมบัญชี
อย่างไรให้เหมาะสมธุรกิจของตัวคุณเองล่ะ? เรามาดูแนวทางกันดีกว่าค่ะ
งบกําไรขาดทุนมีอะไรบ้าง
งบกําไรขาดทุนมีอะไรบ้าง
หากความสำคัญของงบดุล (Balance Sheet) คือแผนผังแสดงโครงสร้างหลักของกิจการ เพราะเป็นรายงานที่บ่งบอกถึงสภาพความมั่นคงเชิงเปรียบเทียบระหว่างสภาพสินทรัพย์และหนี้สิน งบกำไร/ขาดทุน (Income Statement) ก็คงเปรียบได้กับแผนผังเส้นเลือดของกิจการ เนื่องจากแสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงานของกิจการทั้งหมดพร้อมแสดงออกมาในรูปกำไรหรือขาดทุนเพื่อบ่งบอกการเติบโตของกิจการ ซึ่งเป็นอีกรายงานทางการเงินที่สำคัญและมีประโยชน์อย่างมาก
ภาษีครึ่งปี คำนวณอย่างไร
ภาษีครึ่งปี คำนวณอย่างไร
เจ้าของกิจการย่อมต้องทราบดีว่านิติบุคคลมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลปีละ 2 ครั้ง คือ รอบครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) และรอบสิ้นปี (ภ.ง.ด. 50) ยกเว้นเฉพาะนิติบุคคลจะไม่ต้องยื่นภาษีเงินได้รอบครึ่งปีก็ต่อเมื่อเริ่มประกอบกิจการเป็นปีแรก หรือ ยกเลิกกิจการ ซึ่งทำให้มีรอบระยะเวลาบัญชีไม่ครบ 12 เดือน
ทฤษฎีการจัดทำงบการเงินรวม
ทฤษฎีการจัดทำงบการเงินรวม
งบการเงินรวมเป็นรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงผลประกอบการของกลุ่มกิจการ โดยงบการเงินรวมนำเสนอเสมือนว่ากลุ่มกิจการนั้นเป็นกิจการเดียว ฉะนั้นการจัดทำงบการเงินรวมมีความสำคัญมากต่อการที่นักวิเคราะห์ทางการเงิน หรือผู้ใช้งบการเงินที่ต้องการพิจารณางบการเงินของกลุ่มกิจการ โดยประโยชน์ของการวิเคราะห์งบการเงิน ยังคงไม่แตกต่างจากประโยชน์การวิเคราะห์งบการเงินของกิจการใดกิจการหนึ่ง คือทำให้ผู้ใช้งบการเงินรวมสามารถนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ตัดสินใจทางการเงิน การเลือกลงทุนในกลุ่มกิจการ หรือใช้พยากรณ์อนาคตผลประกอบการและฐานะทางการเงินของกลุ่มกิจการ หรือใช้เป็นเครื่องมือการวินิจฉัยปัญหาของการบริหารงาน การดำเนินงาน หรือใช้เป็นเครื่องมือประเมินผล (Evaluation) ของฝ่ายบริหาร
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไร
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไร
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไรประเด็นปัญหาลูกหนี้ไม่จ่ายค่าสินค้า และมาตรการแก้ไขเฉพาะหน้า
ทำความรู้จักกับ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5
ทำความรู้จักกับ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5
บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 เป็นเอกสารประกอบการจดทะเบียนที่สำคัญอย่างหนึ่งเวลาที่เราเอาบริษัทไปทำธุรกรรมในด้านต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่เราไปเปิดบัญชีธนาคารในนามบริษัทธนาคารก็จะขอ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 ในบทความนี้เราจะมาดูกันว่าเอกสารดังกล่าวนั้นคืออะไร
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com