ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด

ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด


ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด มีข้อแตกต่างกันดังนี้


1. การก่อตั้ง

  - นิติบุคคลอาคารชุด : กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย     
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์
 
2. วัตถุประสงค์

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  กิจกรรมเพื่อดูแลทรัพย์ส่วนกลาง ไม่มุ่งค้าหากำไร 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  กิจกรรมการค้าเพื่อมุ่งค้าหากำไร 
 
3. ผู้ก่อตั้ง

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  เมื่อมีเจ้าของร่วมมากกว่า 1 รายในอาคารชุด
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ผู้ก่อการ 7 ท่าน
 
4. ผู้เป็นเจ้าของ

   - นิติบุคคลอาคารชุด :  เจ้าของร่วมทั้งหมด ในอาคารชุด 
   - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ 

5. ผู้มีอำนาจผูกพันธ์

   - นิติบุคคลอาคารชุด : ผู้จัดการนิติบุคคล (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
   
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการผู้จัดการ หรือ กรรมการ ที่บริษัทฯ กำหนด
 
6. ผู้บริหาร

   - นิติบุคคลอาคารชุด :  กรรมการอาคารชุด (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  กรรมการบริษัทฯ
 
7. ด้านภาษี

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้ ไม่ต้องยื่นภาษีประจำปี 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ต้องยื่นภาษีประจำปี 

8. ด้านบัญชี /การเงิน

  - นิติบุคคลอาคารชุด : รับรองงบดุล/ บัญชี โดยที่ประชุมใหญ่ ไม่ต้องส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบรับอนุญาติ ส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ 

9. การบริหารการเงิน

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  ตามนโยบายคณะกรรมการ และข้อบังคับ
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ตามนโยบายของผู้บริหาร
 
10. กฎหมายหลักที่บังคับใช้

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2551  (ฉบับที่4 )  
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!


บทความโดย : www.thaicondoonline.com
ประกาศบทความโดย : http://www.prosmes.com
 916
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไร ที่ทำให้กิจการจำเป็นและจำใจต้อง เปลี่ยนสำนักงานบัญชีใหม่ เรื่องที่สำคัญคือ
โดยบทความนี้จะมาแนะนำเอกสารที่ระบุอยู่ใน “คู่มือการจัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชีที่สามารถเป็นรายจ่ายทางภาษีได้” ของกรมสรรพากร เพื่อใช้สำหรับค่าใช้จ่ายของกิจการที่จ่ายจริงแต่ไม่มีหลักฐานเพียงพอ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
ผู้ตรวจสอบบัญชี หรือ ผู้สอบบัญชี CPA (Certified Public Accountant) คือ ผู้ที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพพ.ศ.2547 มีสิทธิในการตรวจสอบและรับรองบัญชีของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทุกขนาด ทุกประเภท (ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์) การสอบ CPA เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถในด้านบัญชีและงานที่เกี่ยวข้อง และเป็นที่ยอมรับและเคารพในวงกว้างในวงการบัญชีและการเงิน
สำหรับกิจการที่มีหน้าที่ต้องจัดทำบัญชี คือ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และต้องจัดให้มีการทำบัญชีสำหรับการประกอบธุรกิจของตนโดยมีรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีประกอบธุรกิจเป็นประจำในสถานที่หลายแห่งแยกจากกันให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการธุรกิจในสถานที่นั้นเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
แบบ ภ.ง.ด.94   : แบบแสดงรายการเพื่อยื่นเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับรายได้ที่ไม่ใช่เงินเดือนตั้งแต่เดือน มกราคม – มิถุนายน  เมื่อยื่นแบบ ภ.ง.ด.94 นี้แล้วเมื่อถึงปลายปีจะต้องคำนวณภาษีเงินได้ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม  และยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 อีกครั้ง โดยนำยอดภาษีที่ได้ชำระแล้วตามแบบ ภ.ง.ด.94 มาหักออก
“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?”

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์