ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด

ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด


ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด มีข้อแตกต่างกันดังนี้


1. การก่อตั้ง

  - นิติบุคคลอาคารชุด : กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย     
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์
 
2. วัตถุประสงค์

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  กิจกรรมเพื่อดูแลทรัพย์ส่วนกลาง ไม่มุ่งค้าหากำไร 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  กิจกรรมการค้าเพื่อมุ่งค้าหากำไร 
 
3. ผู้ก่อตั้ง

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  เมื่อมีเจ้าของร่วมมากกว่า 1 รายในอาคารชุด
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ผู้ก่อการ 7 ท่าน
 
4. ผู้เป็นเจ้าของ

   - นิติบุคคลอาคารชุด :  เจ้าของร่วมทั้งหมด ในอาคารชุด 
   - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ 

5. ผู้มีอำนาจผูกพันธ์

   - นิติบุคคลอาคารชุด : ผู้จัดการนิติบุคคล (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
   
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการผู้จัดการ หรือ กรรมการ ที่บริษัทฯ กำหนด
 
6. ผู้บริหาร

   - นิติบุคคลอาคารชุด :  กรรมการอาคารชุด (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  กรรมการบริษัทฯ
 
7. ด้านภาษี

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้ ไม่ต้องยื่นภาษีประจำปี 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ต้องยื่นภาษีประจำปี 

8. ด้านบัญชี /การเงิน

  - นิติบุคคลอาคารชุด : รับรองงบดุล/ บัญชี โดยที่ประชุมใหญ่ ไม่ต้องส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ 
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบรับอนุญาติ ส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ 

9. การบริหารการเงิน

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  ตามนโยบายคณะกรรมการ และข้อบังคับ
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ตามนโยบายของผู้บริหาร
 
10. กฎหมายหลักที่บังคับใช้

  - นิติบุคคลอาคารชุด :  พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2551  (ฉบับที่4 )  
  - นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด :  ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!


บทความโดย : www.thaicondoonline.com
ประกาศบทความโดย : http://www.prosmes.com
 774
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

กิจการขนาดเล็กมักมีข้อจำกัดเรื่องเงินทุนหมุนเวียนรวมทั้งกำลังคน การจัดวางพนักงานในหน้าที่ต่างๆจึงไม่ค่อยมีการแบ่งแยกหน้าที่ พนักงานหนึ่งคนต้องรับผิดชอบงานหลายอย่างและอย่าได้หวังว่าจะมีแผนกต่างๆเหมือนองค์กรขนาดใหญ่
ในปัจจุบันสายงานตรวจสอบบัญชีได้รับความนิยมจากผู้ที่จบการศึกษาด้านการบัญชีและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เนื่องจากกฎหมายระบุว่าให้งบการเงินของทุกบริษัทจะต้องผ่านการรับรองจากผู้ตรวจสอบบัญชีหรือ Certified Public Accountant (CPA)
แผนกจัดซื้อเป็นหน่วยงานแยกต่างหากหรือมีพนักงานจัดซื้อไม่เกี่ยวข้อง
โดยทั่วไปผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมายยกเว้นภาษี หรือที่ไม่ต้องเสียภาษี) ไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ การคำนวณภาษีให้ทำเป็น 3 ขั้น คือ
ผู้ทำบัญชี อย่าลืม “5 เช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำเพื่อก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎมาย”
การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย หากจำนวนเงินค่าบริการหรือค่าจ้างที่ต้องจ่ายแต่ละครั้งไม่ถึง 1,000 บาท ผู้จ่ายเงินจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกใบรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) หรือไม่

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์