เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท

เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท


เงินฝากธนาคาร (Bank Commercial) 5 ประเภท มี กี่ แบบ อะไรบ้าง 

เงินฝาก ธนาคาร เป็นเงินประเภทที่ใช้จ่ายในกิจการ มีลักษณะเป็นเงินฝากกระแสรายวัน หรือเป็นรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินฝาก ธนาคาร (Cash in Bank or Deposit) หมายถึง เงินฝาก ธนาคารทุกประเภท บัตรเงิน ฝากที่ออกโดยธนาคาร และสลากออมสินพิเศษ … ดังนั้นในปัจจุบันจึงถือเอาบัญชีเงินฝากออมทรัพย์แสดงรวมไว้ในบัญชีเงินฝาก ธนาคาร 

ประเภทของเงินฝาก

  • บัญชีเงินฝากเดินสะพัด บริการฝากเงินหรือถอนเงินเมื่อไหร่ก็ได้ กี่ครั้งก็ได้ สามารถเขียนเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีได้ โดยเงินฝากได้รับการคุ้มครองจากสถาบันเงินฝาก ตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด
  • บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากที่ผู้ฝากจะเบิกถอนเมื่อใดก็ได้ โดยนำเอกสารคู่ฝากไปเบิกที่ธนาคาร หรือถอนจากเครื่องเอทีเอ็ม
  • บัญชีเงินฝากประจำ มี 2 ประเภท
    • ระยะสั้น เป็นรูปแบบการฝากเงินที่มีกำหนดระยะเวลาฝาก 1 เดือน เงินฝากประจำนี้ ธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยให้เมื่อครบกำหนดฝาก และหักภาษี ณ ที่จ่าย จากนั้นจะนำดอกเบี้ยสุทธิ รวมเข้าเป็นเงินต้น (จ่ายแบบดอกเบี้ยทบต้น)
    • แบบทั่วไป บัญชีฝากประจำที่ ให้คุณสามารถเลือกที่จะฝากเงินได้ตามระยะเวลาที่คุณต้องการ ไม่ว่าจะเป็น ฝากประจำระยะสั้น ฝากประจำระยะยาว ความเสี่ยงต่ำ ใช้ค้ำประกันสินเชื่อได้
  • บัญชีเงินฝากระยะยาว ใช้เป็นหลักประกัน ขอสินเชื่อหรือค้ำประกัน มักจ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนดระยะเวลาการฝาก ตามระยะเวลาการฝากที่เลือก
  • บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ บัญชีเงินฝากสำหรับบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ต้องการฝากเงินไว้ในรูปแบบเงินตราต่างประเทศ เช่น ดอลลาร์ สรอ. (USD) ยูโร (EUR) เยน (JPY) เป็นต้น เหมาะ
สรุปโดยรวม ประเภทเงินฝาก
  1. บัญชีเงินฝากเดินสะพัด
  2. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
  3. บัญชีเงินฝากประจำ
  4. บัญชีเงินฝากระยะยาว
  5. บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ

ขอบคุณบทความจาก :: https://www.pangpond.com
 706
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบันแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้จ่ายเงินจึงยังไม่ได้บัญทึกบัญชี เช่น ค่าแรงงานค้างจ่าย เงินเดือนค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น กิจการจึงจำเป็นต้องปรับปรุงบัญชีโดยเพิ่มค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีปัจจุบันแล้วตั้งเป็นหนี้สินไว้
ภ.ง.ด. 50 คือ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลใช้สำหรับนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายประเทศไทย หรือ ต่างประเทศ โดยการยื่น ภ.ง.ด. 50 จำต้องยื่นภายใน 150 (ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม) วันนับตั้งแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โดยจะต้องยื่นทุกปี ไม่ว่าจะมีรายได้หรือไม่มีรายได้
เพื่อนำส่งภาษีให้แก่กรมสรรพากร ทั้งนี้ไม่ว่ารายได้ของคุณจะถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีหรือไม่ก็ตาม ก็ยังคงเป็นหน้าที่ในการที่เราจะต้องยื่นภาษีให้ถูกต้อง หากไม่ยื่นภาษี และเราเองมีหน้าที่ต้องเสียภาษีตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว ก็อาจทำให้กรมสรรพากรเรียกค่าปรับชำระภาษีล่าช้าจากเราได้ ดังนั้น "หากไม่อยากเสียค่าปรับย้อนหลังก็ควรศึกษาการยื่นภาษีให้ถูกต้อง"
สำหรับหลักการบัญชีคู่นั้นหมายถึงการบันทึกรายการบัญชีทั้งสองด้าน ด้วยการเดบิตและเครดิตอย่างน้อยสองบัญชีขึ้นไป ด้วยการนำสมการบัญชีมาใช้ด้วยการลงทั้งสองด้านนั้นจะต้องมียอดเท่ากัน แต่ไม่จำเป็นที่จะต้องมีจำนวนบัญชีที่เท่ากัน
งบเปล่า คืองบการเงินของธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งถ้าตลอดปีงบการเงินไม่มีการเคลื่อนไหวเลย ผู้ประกอบการก็ยังต้องมีหน้าที่ปิดงบการเงินส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรประจำทุกปี หรือเรียกว่าการปิดงบเปล่าส่ง

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์