sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30
เป็นการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากตาม ภ.ง.ด.50 หรือ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT: Corporate Income Tax) จะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ส่วนภ.พ. 30 (VAT) เป็นการรับรู้รายได้ตาม Tax Point ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการรับรู้ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ และประเภทรายได้ที่เกิดขึ้นด้วย
ตามตัวอย่างที่แสดงให้ดูในตารางสรุปด้านล่าง ดังนี้
ประเภทรายการ
ขายสินค้า (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อส่งมอบสินค้า
เช่าซื้อ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ส่งออก (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เมื่อส่งมอบหรือโอนความเสี่ยงตามตกลง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อผ่านพิธีศุลกากร FOB มาตรา 79 (1)
ให้บริการ (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อรับชำระเงิน
เงินสนับสนุน/ช่วยเหลือ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ค่าปรับ/สินไหม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ส่งออกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้รายได้ตามมาตรา 70 ตรี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ส่งออกอัตรา 0
ขายทรัพย์สินเก่า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เฉพาะส่วนที่เป็นกำไร
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT ทั้งจำนวน
แจกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ถือเป็นรายจ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT
ดอกเบี้ย/เงินปันผล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!
ขอบคุณบทความจาก ::
Ddproperty
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
2064
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน
จุดคุ้มทุนมีความสำคัญในการตัดสินใจกำหนดราคาขาย และปริมาณสินค้าที่จะขาย โดยการคำนวณจะต้องคำนวณทีละหนึ่งผลิตภัณฑ์ หากมีผลิตภัณฑ์หลายตัวก็คำนวณหลายครั้งโดยอย่าลืมที่จะจัดสรรค่าใช้จ่ายของผลิตภัณฑ์แต่ละตัวด้วยเพื่อไม่ให้มีค่าใช้จ่ายคงที่สูงเกินไป การคำนวณต้องใช้ปัจจัยเหล่านี้คือ
งบกําไรขาดทุนมีอะไรบ้าง
งบกําไรขาดทุนมีอะไรบ้าง
หากความสำคัญของงบดุล (Balance Sheet) คือแผนผังแสดงโครงสร้างหลักของกิจการ เพราะเป็นรายงานที่บ่งบอกถึงสภาพความมั่นคงเชิงเปรียบเทียบระหว่างสภาพสินทรัพย์และหนี้สิน งบกำไร/ขาดทุน (Income Statement) ก็คงเปรียบได้กับแผนผังเส้นเลือดของกิจการ เนื่องจากแสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงานของกิจการทั้งหมดพร้อมแสดงออกมาในรูปกำไรหรือขาดทุนเพื่อบ่งบอกการเติบโตของกิจการ ซึ่งเป็นอีกรายงานทางการเงินที่สำคัญและมีประโยชน์อย่างมาก
ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล
ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล
“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?”
ส่วนลดการค้าและส่วนลดเงินสด
ส่วนลดการค้าและส่วนลดเงินสด
ส่วนลด (Discount) หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ขายยอมลดให้กับผู้ซื้อ ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของผู้ขาย ในการจูงใจให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้า หรือจูงใจให้ผู้ซื้อสินค้าปริมาณมาก หรือเพื่อจูงใจให้ลูกค้าที่ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อมาชำระหนี้เร็วขึ้นในการดำเนินธุรกิจซื้อ-ขายสินค้านั้น มักจะให้ส่วนลดแก่ผู้ซื้อใน 2 ลักษณะคือ
13 สิ่งต้องมีในบัญชี ห้ามขาด ห้ามหาย
13 สิ่งต้องมีในบัญชี ห้ามขาด ห้ามหาย
3 รายการสำคัญที่ต้องมี เพื่อความสมบูรณ์ของบัญชี ผู้จัดทำบัญชีทุกประเภทต้องปฏิบัติตามประกาศกรมทะเบียนการค้า โดยประเด็นสำคัญที่มองข้ามไม่ได้ คือเรื่องของ “ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี” แบ่งตามประเภทบัญชี ดังนี้
งบเปล่าและการปิดงบเปล่า
งบเปล่าและการปิดงบเปล่า
งบเปล่า คืองบการเงินของธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งถ้าตลอดปีงบการเงินไม่มีการเคลื่อนไหวเลย ผู้ประกอบการก็ยังต้องมีหน้าที่ปิดงบการเงินส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรประจำทุกปี หรือเรียกว่าการปิดงบเปล่าส่ง
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com