เอกสาร PR PO เอาไว้ใช้ทำอะไร

เอกสาร PR PO เอาไว้ใช้ทำอะไร


ใบขอซื้อ (PR) เป็นเอกสารที่เป็นฉบับแรกสุดในบริษัทขนาดใหญ่ก่อนที่จะได้รับการอนุมัติเพื่อทำเอกสารใบสั่งซื้อ ส่วนใบสั่งซื้อ (PO) หรือ ใบเสนอราคา เอกสารใบสั่งซื้อนี้ สามารถใช้เป็นหลักฐานในการทำธุรกิจได้เป็นอย่างดี หากการสั่งซื้อนั้นเกิดความล่าช้ากว่ากำหนด หรือ มีข้อโต้แย้งที่ทำสินค้าให้เราไม่ได้อย่างที่ตกลงกันไว้

วันนี้แอดมินจะพาทุกคนมารู้เอกสาร PR และ PO ทั้ง 2 เอกสารจะเกี่ยวกับกับการควบคุมภายในส่วนของการจัดซื้อจัดจ้าง โดยทั้ง 2 ชนิดเอกสารใช้งานแตกต่างกันดังนี้

PR (Purchase Requisition) หมายถึงใบขอซื้อจะเป็นเอกสารที่ใช้แผนกต่างๆ ในบริษัทแจ้งความประสงค์ว่าอยากจะซื้ออะไร โดยผู้ขอซื้อจะต้องใส่เหตุผลที่ต้องการซื้อว่าจะต้องนำมาใช้สำหรับทำอะไร และจะต้องให้หัวหน้าแผนกอนุมัติก่อนส่งไปให้แผนกจัดซื้อ เพื่อทำการจัดซื้อ

PO (Purchase Order) หมายถึงใบสั่งซื้อจะเป็นเอกสารที่แผนกจัดซื้อ ออกให้กับผู้ขายสินค้าหรือบริการ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายสินค้าหรือบริการทราบว่าเราต้องการจะซื้อสินค้าหรือบริการอะไร ราคาเท่าไหร่ และมีเงื่อนไขการค้าเป็นอย่างไร และเมื่อเกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าและบริการเอกสารใบสั่งซื้อจะสามารถใช้เป็นหลักฐานในการขึ้นศาลหรือโต้แย้งกับผู้ขายได้


สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!



แหล่งที่มา : Link
 5364
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

คำว่า “บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้” คือ ใครก็ตามที่ทำงานและมีรายได้ กรมสรรพากรกำหนดไว้ว่า หากมีรายได้ถึงเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษี จะต้องทำการ “ยื่นแบบแสดงรายการภาษี” ไม่ว่ารายได้นั้นจะมาจากเงินเดือน รายได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน รายได้ที่เป็นปันผลจากการลงทุน ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร รายได้จากการรับจ๊อบเสริม หรือรายได้จากการทำธุรกิจต่าง ๆ โดยกำหนดการยื่นภาษีจะถูกแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
ก่อนจะมาเป็น “หนี้สูญ” ต้องผ่านการบันทึกบัญชีลูกหนี้มาก่อน ซึ่งเกิดจากการขายที่ให้เครดิตแก่ลูกหนี้ ที่เรียกกันทั่วไปคือการขายเชื่อ หรืออาจเป็นการขายผ่อนชำระ รวมถึงการรับชำระเป็นงวด ๆ ในลักษณะการเช่าซื้อหรือลีสซิ่ง นอกจากลูกหนี้ที่เกิดจากการค้าแล้วอาจมีลูกหนี้ในลักษณะอื่น ๆ ทั้งนี้ กิจการที่มีลูกหนี้ย่อมมีสิทธิในการเรียกให้ลูกหนี้นั้นชำระเงินตามมูลหนี้ที่เกิดขึ้นตามที่ได้ตกลงกันไว้
ขั้นตอนจดทะเบียนเลิกบริษัทต้องทำอย่างไรบ้าง ไปดูกันที่บทความนี้ค่ะ
ตราประทับบริษัทสูญหาย หรือชำรุด หรือต้องการเปลี่ยนรูปแบบใหม่ จะต้องทำอย่างไร
บัญชีที่ทำกันโดยทั่วไป ได้แก่ บัญชีเงินเดือน (payroll) การออกใบกำกับสินค้า (invoice) บัญชีลูกหนี้ (account receivable) การรับเงิน (cash receipts) บัญชีเจ้าหนี้ (account payable) การพิมพ์เช็คและหักบัญชี (check writing and reconciliation) เป็นต้น
e-Withholding Tax (e-WHT) หรือภาษีหัก ณ ที่จ่าย เป็นบริการที่กรมสรรพากรพัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มความสะดวกลดขั้นตอนให้แก่ผู้ที่มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายทำการนำส่งเงินภาษีต่อกรมสรรพากร โดยมีธนาคารเป็นตัวกลางในการนำส่งข้อมูลและส่งเงินภาษีให้กับกรมสรรพากร โดยที่ผู้ประกอบการไม่ต้องจัดทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ดังนั้น ประโยชน์ที่เราจะเห็นได้ชัดเจนเลยก็คือ

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์