มีเงินเหลือในบริษัทเยอะ ทำอย่างไรดี

มีเงินเหลือในบริษัทเยอะ ทำอย่างไรดี



มีเงินเหลือในบริษัทเยอะ ทำอย่างไรดี ไปดูกันในบทความนี้ค่ะ

1. ทำเป็นเงินให้กรรมการกู้ยืมออกไป

*** วิธีนี้มีข้อเสียคือ บริษัทให้กรรมการกู้จะต้องมีการคิดดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมเงิน เมื่อบริษัทมีรายได้ดอกเบี้ยรับถือเป็นเงินได้จะต้องเอาไปรวมในการคำนวนภาษีเงินได้นิติบุคคล ถ้าดอกเบี้ย รับเยอะก็จะเสียภาษีเยอะขึ้น 

2. จ่ายเงินปันผล

การจ่ายเงินปันผลเป็นวิธีที่ดีมากวิธีหนึ่ง เพราะเป็นการแก้ไขปัญหาที่จบจริง ไม่เหมือนกับการนำเงินออกจากบริษัทด้วยวิธีให้เงินกรรมการกู้ยืม แต่ผู้ประกอบการไม่นิยมใช้กันเนื่องจาก ทันทีที่บริษัทจ่ายเงินปันผลจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 10% ของเงินปันผลที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากร สรุปวิธีนี้จะต้องเสียภาษี 10% ให้กรมสรรพากรแต่จบปัญหา

3. ทำเป็นเงินโบนัสให้กับเจ้าของ
1) เงินโบนัสที่จ่ายนำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีของบริษัท ทำให้บริษัทเสียภาษีลดลงได้มากสุดถึง 20% (ตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของแต่ละบริษัท)
2) เจ้าของได้รับเงินโบนัส จะถูกนำไปรวมเป็นเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเสียภาษี
ดังนั้นนักบัญชีจะต้องวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับเจ้าของกิจการ เพื่อให้เสียภาษีให้คุ้มค่าที่สุด มันจะมีจุดที่ทำด้วยวิธีนี้แล้วคุ้มค่าต้องไปคำนวนกันเอง



ขอบคุณที่มา : www.kknaccounting.com

 574
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ผู้ทำบัญชี อย่าลืม “5 เช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำเพื่อก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎมาย”
เมื่อใดที่มีการทางสัญญาทางธุรกิจต่างๆเช่น สัญญาเช่า สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน สัญญาจ้างทาของ สัญญากู้ยืมเงิน เป็นต้น กฎหมายกำหนดให้เสียค่าอากรแสตมป์โดยเป็นอากรที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการำตราสารต่างๆ
การวางแผนภาษีสิ้นปีเป็นกระบวนการในการจัดการเรื่องการเงินเพื่อผลประโยชน์ทางภาษีประจำปีที่ดีที่สุด ซึ่งรวมถึงการกำหนดเวลาการขายการซื้อหรือการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเพื่อให้สามารถดำเนินการในกรอบเวลาที่ดีที่สุด การชะลอการกระทำหรือสร้างความมั่นใจว่ากิจกรรมบางอย่างเกิดขึ้นก่อนสิ้นปีจะมีผลอย่างมากต่อการเรียกเก็บภาษี มีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่อาจส่งผลกระทบต่อการวางแผนภาษีสิ้นปีเช่นกัน
การปิดงบการเงินแบบ normal อาจจะเป็นเรื่องไม่ normal อีกต่อไป ตั้งแต่มี Covid-19 เข้ามา แทบจะทุกธุรกิจได้รับผลกระทบจากโควิด เริ่มตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ และแน่นอนว่าผลกระทบเหล่านี้ย่อมต้องสะท้อนออกมาในงบการเงินอย่างถูกต้องและเหมาะสมเช่นกัน ก่อนจะปิดบัญชีปีนี้มีจุดเสี่ยงสำคัญอะไรในงบการเงินบ้างที่นักบัญชีต้องเรียนรู้ เราขออาสาพาทุกท่านมาทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันเลย ในบทความนี้ค่ะ
การหักภาษี ณ ที่จ่าย แบ่งจากผู้รับเงินได้เป็น 2 ประเภท คือ
แน่นอนว่าผู้ยื่นภาษีไม่ทันตามที่กำหนดนั้น นอกจากจะต้องเตรียมตัวเตรียมใจกับค่าปรับที่จะต้องเจอแล้วนั้น สิ่งที่ต้องเตรียม คือเอกสารที่จะใช้ประกอบเพื่อยื่นภาษีย้อนหลังนั้น มีอะไรบ้าง ได้รวบรวมข้อมูลจากกรมสรรพากรมาฝากกัน

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์