ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)


ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542


 1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป
 2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว

1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30
  1.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   250
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     250 X 1.5% ต่อเดือน
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     250 X 2 เท่า
  1.2 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   1,750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   0
   
    ภาษีที่ชำระไว้เกิน
   (750)
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     ไม่มี
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  2.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
   400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
250
1,200
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
 1,130
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จำนวน 1,900 บาท

  2.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
2,400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ชำระไว้เกิน  
(1,750)
(800)
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
(870)
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 950 (600 + 350) บาท

  2.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
1,400
(1,350)
  ซื้อเกิน
ภาษีชำระไว้เกิน  
(1,750)
200
1,950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
130
1,950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 130 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 200 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 1,350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 1,950 (600 + 1,350) บาท

  2.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
2,000
1,250
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   250
(400)
(650)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
(470)
(650)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 600 บาท

3. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
2,500
2,500
  0
 
ภาษีซื้อ  
2,000
2,000
  0
 
ภาษีต้องชำระ  
  400
  500
 100
 
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (20)
   (20)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   380
   480
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 480 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

4. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

5. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,300 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี




6. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  6.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,200
(300)
  ขายเกิน
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
600
100
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
   530
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 100 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายเกิน ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,500
0
  ขายถูกต้อง
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
900
400
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
(950)
(950)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
(50)
(400)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 400 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้อง ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
2,000
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
800
(200)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
2,700
2,200
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (950)
 (950)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
1,750
2,200
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,750 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 2,200 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 2,000 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 2,200 บาท

  6.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
2,600
(1,600)
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   500
(200)
(700)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
(270)
(700)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 900 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 900 บาท


7. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง
  7.1 กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,500
0
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,200
      0
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,300
0
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,050
 100  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

  7.2 กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,800
300
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,000
  (200)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,800
500
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,550
 600  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 600 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 500 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 300 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 500 บาท

  7.3 กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,550
50
ภาษีซื้อ  
1,000
3,420
3,400
  (20)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
80
150
70
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 (270)
 (100)
  170  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 70 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 50 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 20 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท




ที่มา : LINK
 1684
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ชื่อว่านักบัญชีก็คือผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตามข้อกำหนดของหน่วยงานควบคุมการประกอบอาชีพทางด้านวิชาบัญชี นักบัญชี ก็ไม่ใช่นักกฎหมาย แต่การทำงานทั้งหมดมีกฎหมายกำกับทั้งสิ้น เคยมีคำกล่าวของท่านผู้รู้ในอดีตกล่าวเปรียบเทียบระหว่างนักกฎหมายกับนักบัญชีไว้ว่า
การวางแผนภาษีสิ้นปีเป็นกระบวนการในการจัดการเรื่องการเงินเพื่อผลประโยชน์ทางภาษีประจำปีที่ดีที่สุด ซึ่งรวมถึงการกำหนดเวลาการขายการซื้อหรือการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเพื่อให้สามารถดำเนินการในกรอบเวลาที่ดีที่สุด การชะลอการกระทำหรือสร้างความมั่นใจว่ากิจกรรมบางอย่างเกิดขึ้นก่อนสิ้นปีจะมีผลอย่างมากต่อการเรียกเก็บภาษี มีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่อาจส่งผลกระทบต่อการวางแผนภาษีสิ้นปีเช่นกัน
การหักภาษี ณ ที่จ่าย แบ่งจากผู้รับเงินได้เป็น 2 ประเภท คือ
ลูกหนี้การค้า ถือเป็นหัวใจหลักที่กระทบกับสภาพคล่องของธุรกิจ ถ้าธุรกิจบริหารจัดการ ลูกหนี้การค้าไม่ดี ติดปัญหารายได้ค้างรับ คือขายของเป็นเงินเชื่อแล้วไม่สามารถเก็บเงินได้ ต้องเกิดบัญชีลูกหนี้การค้า ขึ้น หรือต้องแทงลูกหนี้การค้าเป็นหนี้สูญ  ธุรกิจมีปัญหาเงินขาดมือ ต้องไปกู้หนี้ยืมสินเพื่อหมุนเงิน สุดท้ายส่งผลกระทบมายังนักลงทุนที่อาจไม่ได้รับเงินปันผล เนื่องจากบริษัทมีเงินสดขาดมือ ขาดสภาพคล่องในเรื่องของเงินทุนหมุนเวียน ดังนั้นนักลงทุนควรเลือกลงทุนกับบริษัทที่มีความสามารถในการจัดการหนี้สินได้เป็นอย่างดี
การคำนวณต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของระบบบัญชีและการเงินของกิจการ เป็นการบันทึกการวัดผลและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนของสินค้าของกิจการ โดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนจะใช้เวลาและลงรายละเอียดมากในกิจการที่ผลิตสินค้า แต่ไม่ได้หมายความว่ากิจการประเภทอื่นเช่นกิจการขายส่ง ขายปลีก ร้านอาหารหรือบริการต่างๆไม่มีความสำคัญในการที่ต้องคำนวณต้นทุนเลย การคำนวณต้นทุนสามารถนำไปใช้ได้ในทุกกิจการเพราะมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการธุรกิจดังนี้
เรามาดูตัวอย่างง่ายๆ กันว่า ประเด็นต่างๆเหล่านี้ มีอยู่ในงบการเงินของท่านหรือไม่

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์