sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
ย้อนกลับ
สิ่งสำคัญต่อไปที่ต้องทำในการจัดระบบบัญชีเพื่อการจัดการ คือการเลือกหา
โปรแกรมบัญชี
ที่เหมาะสมกับธุรกิจของเรามาใช้ เพื่อความมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประหยัดคนและประหยัดเวลา การเลือกโปรแกรมบัญชี ท่านจะต้องเปิดโอกาสให้ทีมงานที่เกี่ยวข้องของท่านได้มีส่วนร่วมในการสรรหาด้วยเพราะเคยเกิดขึ้นอยู่บ่อยๆว่าผู้บริหารเป็นผู้เลือกและตัดสินใจพอซื้อเสร็จก็โยนให้ฝ่ายบัญชีไปใช้ปรากฎว่าฝ่ายบัญชีรู้สึกว่าถูกบังคับก็เลยเกิดการต่อต้านหรือเกิดความไม่ชอบและไม่ให้ความร่วมมือจนในที่สุดก็กลายเป็นความล้มเหลว ปัจจัยที่จะต้องพิจารณาในการเลือกโปรแกรมบัญชีมีดังนี้
1.
งบประมาณ
ก่อนที่จะเริ่มต้นเลือกโปรแกรมบัญชี ท่านต้องจัดสรรงบประมาณไว้ล่วงหน้า ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายฮาร์ดแวร์ (
Hardware
)
Server & Client ,
ค่าใช้จ่ายซื้อลิขสิทธิ์ฐานข้อมูล
SQL,
โปรแกรมที่ใช้เขียนรายงาน ฯลฯ
2.
พิจารณา
คุณสมบัติของโปรแกรมบัญชี
สามารถรองรับกระบวนการทำงาน (
Business Process
) ของธุรกิจได้มากกว่า
70-80%
โปรแกรมบัญชีในตลาดนั้นมีหลากหลายแตกต่างกันไปทั้งลักษณะการใช้งานและราคา การที่จะเลือกซื้อโปรแกรมบัญชีท่านจะต้องสำรวจความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน (
User
) และผู้บริหาร (
Management Team
) โดยเรียงลำดับความสำคัญของงานที่ต้องการ ท่านควรพิจารณาว่าโปรแกรมบัญชีมีความยืดหยุ่นต่อการทำงานมากน้อยเพียงใด
?
ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับเปลี่ยนได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาโปรแกรมเมอร์ เช่น การเขียนรายงานต่างๆ
หลุมดำของโปรแกรมบัญชี (
Bug)
เป็นธรรมดาที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่อาจจะมีหลุมดำหรือ
Bug
ซึ่งจะก่อให้เกิดการหยุดชะงักในการประมวลผลหรือที่เรียกว่า
Error
เพื่อความปลอดภัย โปรดสอบถามผู้ขาย ว่าโปรแกรมนั้นมีผู้ใช้จำนวนกี่ราย
?
พัฒนาโปรแกรมมาแล้วกี่ปี
?
การเลือกโปรแกรมที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดจะปลอดภัยกว่า อีกทางหนึ่งคือเลือกโปรแกรมที่พัฒนาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงหรือมีประสบการณ์ทางด้านบัญชี
อีกประการหนึ่งโปรแกรมบัญชีที่ดีจะต้องมีเครื่องมือจัดการฐานข้อมูล เช่น ไฟดับในระหว่างกำลังสั่งประมวลผลข้อมูล โปรแกรมบัญชีที่ดีควรมีการสำรองข้อมูลอัตโนมัติ (
Backup
) เพื่อช่วยกู้ข้อมูลกลับมาได้ทันที
3.
พิจารณาคุณสมบัติของผู้จำหน่ายโปรแกรม
(
Software House
) สิ่งที่สำคัญพอๆ กันกับการเลือกโปรแกรมก็คือคุณต้องให้ความสำคัญในการพิจารณาผู้ที่จำหน่ายโปรแกรมบัญชี
เช่น
ทีมบริการหลังการขาย
ท่านจะต้องเลือกผู้ที่มีความรู้ในโปรแกรมนั้นเป็น
อย่างดี
และสามารถให้คำปรึกษาในการใช้งานได้จริง ท่านสามารถตรวจสอบได้ด้วยการสอบถามประสบการณ์จากผู้ที่ใช้โปรแกรมอย่างน้อย
3
ราย ขอรายชื่อลูกค้าอ้างอิงเพื่อสอบถามผู้ที่ใช้งานจริงว่ามีการใช้งานเป็นอย่างไร
?
มีความพอใจกับโปรแกรมนั้นหรือไม่
?
บริการหลังการขายของผู้ขายเป็นอย่างไร
?
และมีปัญหาใดที่เกิดขึ้นจากการใช้หรือไม่
?
โปรแกรมบัญชี
ระบบบัญชี
801
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
การเฉลี่ยภาษีซื้อ คืออะไร
การเฉลี่ยภาษีซื้อ คืออะไร
การเฉลี่ยภาษีซื้อ คือ การปันส่วนภาษีซื้อของกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่มีรายได้จากธุรกิจ VAT และ NON VAT ซึ่งภาษีซื้อที่เกิดขึ้นมาจากการได้สินค้าหรือบริการ มาใช้ในกิจการที่ไม่สามารถจำแนกได้ว่าใช้ในธุรกิจ VAT หรือ NON VAT
วิธียื่นเสียภาษีย้อนหลัง แบบง่ายๆทำได้ด้วยตัวเอง
วิธียื่นเสียภาษีย้อนหลัง แบบง่ายๆทำได้ด้วยตัวเอง
แน่นอนว่าผู้ยื่นภาษีไม่ทันตามที่กำหนดนั้น นอกจากจะต้องเตรียมตัวเตรียมใจกับค่าปรับที่จะต้องเจอแล้วนั้น สิ่งที่ต้องเตรียม คือเอกสารที่จะใช้ประกอบเพื่อยื่นภาษีย้อนหลังนั้น มีอะไรบ้าง ได้รวบรวมข้อมูลจากกรมสรรพากรมาฝากกัน
หลักการจัดเก็บอากรขาเข้า อากรขาออก
หลักการจัดเก็บอากรขาเข้า อากรขาออก
อากร หมายถึง เงินรายได้ของประเทศที่กฎหมายกำหนดให้กรมศุลกากรเป็นหน่วยงานจัดเก็บจากการนำของเข้ามาในหรือส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร หรือ จากกรณีอื่นๆ ตามที่บัญญัติในกฎหมายศุลกากรและกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร ตลอดจนกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอากรศุลกากร
เงินเดือนกรรมการ บริษัทจ่ายเงินให้ในรูปแบบใดได้บ้าง?
เงินเดือนกรรมการ บริษัทจ่ายเงินให้ในรูปแบบใดได้บ้าง?
วันนี้เราจะมาดูกันว่าเจ้าของจะสามารถนำเงินออกจากบริษัทได้โดยทางใดบ้าง และแต่ละทางมีข้อดี-ข้อเสียทางภาษีที่แตกต่างกันอย่างไร
ค่าเสื่อมราคาคืออะไร?
ค่าเสื่อมราคาคืออะไร?
ค่าเสื่อมราคา หรือ Depreciation Expense เป็นการหักค่าใช้จ่ายสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรมีต้นทุนสูง และใช้งานได้เกินกว่า 1 รอบระยะเวลาบัญชี โดยหลักการจึงสามารถตัดเป็นรายจ่ายได้ในแต่ละปีเป็นค่าเสื่อมราคา อธิบายอย่างเข้าใจง่าย ค่าเสื่อมราคาคือหลักการทางบัญชี เพราะถ้าไม่มีวิธีหักค่าเสื่อมของสินทรัพย์แล้วนั้น เงินที่ลงทุนซื้อสินทรัพย์จำพวกนั้นก็จะกลายเป็นค่าใช้จ่ายไปทันทีทั้งก้อนซึ่งจะมีผลต่องบกำไรขาดทุน เราจึงจำเป็นต้องมาทะยอย หักเป็นค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับอายุการใช้งานเพื่อให้การคิดต้นทุนค่าใช้จ่ายเหมาะสมกับการคำนวณกำไรขาดทุนภาษี
กรมพัฒน์ฯ แนะ!!! ผู้ทำบัญชีเช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำ ก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎหมาย
กรมพัฒน์ฯ แนะ!!! ผู้ทำบัญชีเช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำ ก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎหมาย
นักบัญชีเป็นวิชาชีพเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจแบบแยกออกจากกันไม่ได้ ธุรกิจที่เป็นนิติบุคคล เช่น บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเป็นต้องมี “ผู้ทำบัญชี”ที่รับผิดชอบในการจัดทำบัญชีของธุรกิจ เพื่อให้มีการแสดงผลการดำเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของธุรกิจที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานการบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชีจึงได้มีการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีไว้ชัดเจน โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือธุรกิจ ต้องจัดให้มีผู้ทำบัญชีซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีกำหนด ดังนี้
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com