sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ย้อนกลับ
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด มีข้อแตกต่างกันดังนี้
1. การก่อตั้ง
- นิติบุคคลอาคารชุด : กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์
2. วัตถุประสงค์
- นิติบุคคลอาคารชุด : กิจกรรมเพื่อดูแลทรัพย์ส่วนกลาง ไม่มุ่งค้าหากำไร
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กิจกรรมการค้าเพื่อมุ่งค้าหากำไร
3. ผู้ก่อตั้ง
- นิติบุคคลอาคารชุด : เมื่อมีเจ้าของร่วมมากกว่า 1 รายในอาคารชุด
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ผู้ก่อการ 7 ท่าน
4. ผู้เป็นเจ้าของ
- นิติบุคคลอาคารชุด : เจ้าของร่วมทั้งหมด ในอาคารชุด
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ
5. ผู้มีอำนาจผูกพันธ์
- นิติบุคคลอาคารชุด : ผู้จัดการนิติบุคคล (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการผู้จัดการ หรือ กรรมการ ที่บริษัทฯ กำหนด
6. ผู้บริหาร
- นิติบุคคลอาคารชุด : กรรมการอาคารชุด (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการบริษัทฯ
7. ด้านภาษี
- นิติบุคคลอาคารชุด : มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้ ไม่ต้องยื่นภาษีประจำปี
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ต้องยื่นภาษีประจำปี
8. ด้านบัญชี /การเงิน
- นิติบุคคลอาคารชุด : รับรองงบดุล/ บัญชี โดยที่ประชุมใหญ่ ไม่ต้องส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบรับอนุญาติ ส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ
9. การบริหารการเงิน
- นิติบุคคลอาคารชุด : ตามนโยบายคณะกรรมการ และข้อบังคับ
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตามนโยบายของผู้บริหาร
10. กฎหมายหลักที่บังคับใช้
- นิติบุคคลอาคารชุด : พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2551 (ฉบับที่4 )
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!
บทความโดย
: www.thaicondoonline.com
ประกาศบทความโดย
:
http://www.prosmes.com
922
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และหมายความรวมถึงนิติบุคคลอื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ด้วย
การเพิ่มทุนจดทะเบียนบริษัท มีขั้นตอนอย่างไร
การเพิ่มทุนจดทะเบียนบริษัท มีขั้นตอนอย่างไร
เมื่อกิจการเติบโตขึ้น จำเป็นต้องใช้เงินเพื่อมาขยายกิจการ เพิ่มสภาพคล่องให้แก่กิจการ ผู้ประกอบการจึงระดมเงินจากผู้ถือหุ้น หรือต้องการกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่ โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียนบริษัท ทั้งนี้ กิจการจะต้องดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนอย่างไร
หมายเหตุประกอบงบการเงินคืออะไร จำเป็นต้องทำหรือไม่
หมายเหตุประกอบงบการเงินคืออะไร จำเป็นต้องทำหรือไม่
หมายเหตุประกอบงบการเงิน คือ รายการที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมจากงบการเงิน เช่น นโยบายการทำบัญชีและเกณฑ์การจัดทำงบการเงิน ข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้แสดงอยู่ในงบการเงิน นโยบายการทำบัญชี เป็นสิ่งที่ทำให้งบการเงินของแต่ล่ะกิจการมีความแตกต่างกันดังนั้นผู้ใช้งาน งบการเงินจะต้องอ่านก่อนว่ากิจการนั้น ใช้เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน แบบใดก่อนที่จะอ่านงบการเงิน
เลือกโปรแกรมบัญชีแบบใด ที่ตอบโจทย์สำนักงานบัญชีและนักบัญชีที่สุด
เลือกโปรแกรมบัญชีแบบใด ที่ตอบโจทย์สำนักงานบัญชีและนักบัญชีที่สุด
ในบทความนี้ เราจึงมีคำแนะนำดีๆ และเทคนิคง่ายๆ สำหรับการเลือกซื้อโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูปสำหรับสำนักงานบัญชี และนักบัญชีมาฝากกัน เพื่อเป็นตัวช่วยในการการบันทึกบัญชี เก็บรวบรวมเอกสาร สร้างรายงานที่สำคัญ รวมไปถึงการยื่นภาษี และปิดงบการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค่าน้ำมันรถยนต์พนักงาน ทำอย่างไรบริษัทลงรายจ่ายได้ และไม่ถือเป็นเงินได้พนักงานที่ต้องเสียภาษี
ค่าน้ำมันรถยนต์พนักงาน ทำอย่างไรบริษัทลงรายจ่ายได้ และไม่ถือเป็นเงินได้พนักงานที่ต้องเสียภาษี
บัญชีกระแสรายวันคืออะไร มีข้อดีอย่างไร?
บัญชีกระแสรายวันคืออะไร มีข้อดีอย่างไร?
บัญชีกระแสรายวัน คือประเภทบัญชีออมทรัพย์ของธนาคารประเภทหนึ่ง ที่ผู้ใช้จำเป็นต้องประกอบกิจการต่างๆ และจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือพาณิชย์ โดยเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยจัดการเรื่องการเงินในเชิงธุรกิจให้สำเร็จได้อย่างง่ายๆ รวมทั้งทำให้เราไม่ต้องพกเงินสดจำนวนมากๆ โดยเฉพาะเวลาจะทำการโอนหรือจัดการด้านธุรกิจต่างๆ ด้วยวงเงินจำนวนมาก เหมาะสำหรับใช้เป็นบัญชีเงินหมุนเวียน และใช้ออกเช็คในการเบิกจ่ายเงิน โดยสามารถขอเบิกเงินเกินบัญชีได้ ซึ่งทางธนาคารจะคิดดอกเบี้ยเพียงส่วนที่เราเบิกเงินเกินเท่านั้น แต่เป็นประเภทบัญชีที่ไม่ได้รับดอกเบี้ย
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com