sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดจิ๋ว
ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดจิ๋ว
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดจิ๋ว
ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดจิ๋ว
ย้อนกลับ
คณะกรรมการกำหนดแนวปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ได้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) และสมาคมอุตสาหกรรมซอฟท์แวร์ไทยได้ร่วมกันเผยแพร่ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดย่อมโดยเน้นไปที่ธุรกิจที่มีขนาดเล็กมาก หรือ ธุรกิจขนาดจิ๋ว
กล่าวคือ ระบบบัญชีที่เผยแพร่นี้จัดเตรียมไว้ให้สำหรับธุรกิจที่เป็นบุคคลธรรมดาไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลและไม่ต้องอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
กลุ่มของธุรกิจที่ไม่ต้องอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้แก่ธุรกิจทั่วไปที่มีรายรับไม่เกิน 1 ล้าน 2 แสนบาทต่อปี หรือเฉลี่ยมีรายได้จากการขายไม่เกิน 100,000 บาทต่อเดือน นั่นเอง
ระบบบัญชีที่สมาคมนักบัญชีฯ นำมาเผยแพร่ให้กับเจ้าของธุรกิจขนาดจิ๋วหรือธุรกิจขนาดย่อมที่เข้าข่ายดังกล่าวนี้เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้มีความง่ายและสะดวกในการใช้งานเบื้องต้นจึงมีรูปแบบที่สามารถพัฒนาเพื่อให้เข้าสู่ระบบบัญชีตามมาตรฐานสากลต่อไปได้โดยง่าย
เป็นแนวความคิดที่ต้องการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งทางการบริหารจัดการธุรกิจให้กับบรรดาเอสเอ็มอีไทยเพื่อให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับสากลต่อไป
ระบบบัญชีดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการทำบัญชีด้วยมือและมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์มารองรับเพื่อให้เจ้าของกิจการสามารถทำบัญชีให้ง่ายขึ้นโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วย
ตัวอย่างของระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดจิ๋วที่เป็นบุคคลธรรมดาประเภทธุรกิจการค้าหรือธุรกิจแบบซื้อมาขายไปจะครอบคลุมกิจกรรมในการทำธุรกิจ
โปรแกรมบัญชี ฟังก์ชั่น ที่ตอบโจทย์สำนักงานบัญชี นักบัญชี
บทความโดย
:
nationejobs
การบัญชี
ระบบบัญชี
นิติบุคคล
ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
นักบัญชี
595
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
กรมสรรพากรขยายเวลามาตรการภาษีการใช้งานระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (E-Tax) ถึง 31 ธ.ค.2568
กรมสรรพากรขยายเวลามาตรการภาษีการใช้งานระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (E-Tax) ถึง 31 ธ.ค.2568
กรมสรรพากรขยายเวลามาตรการภาษีการใช้งานระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (E-Tax) ออกไปอีก 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2568 (จากเดิมที่สิ้นสุดเมื่อ 31 ธันวาคม 2565) โดยออกเป็นร่างกฎหมาย รวม 2 ฉบับ สาระสำคัญของร่างกฎหมาย 2 ฉบับ ที่เกี่ยวกับการขยายระยะเวลามาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้
ทะเบียนพาณิชย์(ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
ทะเบียนพาณิชย์(ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์,กิจการค้าที่เป็นพาณิชยกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์,พาณิชยกิจที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์
การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ทำบัญชี CPD
การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ทำบัญชี CPD
การพัฒนาตัวเองเกี่ยวกับงานวิชาชีพด้านบัญชี
ประเด็นที่ต้องรู้ก่อนจะยื่นภาษีประจำปี
ประเด็นที่ต้องรู้ก่อนจะยื่นภาษีประจำปี
การยื่นภาษี กับ เสียภาษี เป็นคนละเรื่องกัน เราต้อง "ยื่นภาษี" เมื่อมี "รายได้ (เงินได้)" ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่เราต้อง "เสียภาษี" เมื่อคำนวณแล้ว "เงินได้สุทธิ" มีจำนวนมากกว่า 150,000 บาท ซึ่งเป็นจำนวนที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี
ปิดงบการเงินอย่างมืออาชีพ เรื่องที่นักบัญชีและเจ้าของธุรกิจควรรู้
ปิดงบการเงินอย่างมืออาชีพ เรื่องที่นักบัญชีและเจ้าของธุรกิจควรรู้
ก่อนที่เราจะไปทำความรู้จักคำว่า “ปิดงบการเงิน” เรามาดูความหมายของงบการเงินก่อนค่ะว่าหมายถึงอะไร
ภาษีอะไรบ้างที่ต้องรู้เกี่ยวกับ การนำเข้า-ส่งออกสินค้า
ภาษีอะไรบ้างที่ต้องรู้เกี่ยวกับ การนำเข้า-ส่งออกสินค้า
ในปัจจุบันการนำเข้า-ส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ ถือเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญอย่างมาก เพราะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ สร้างงาน เพิ่มการจ้างงาน และส่งเสริมการแข่งขันและนวัตกรรม นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการบริหารจัดการเงินตราต่างประเทศ รวมไปถึงช่วยให้สร้างโอกาสขยายตลาด และเพิ่มรายได้แบบก้าวกระโดด ดังนั้น การดำเนิน
ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก
ที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com