ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)


ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542


 1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป
 2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว

1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30
  1.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   250
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     250 X 1.5% ต่อเดือน
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     250 X 2 เท่า
  1.2 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   1,750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   0
   
    ภาษีที่ชำระไว้เกิน
   (750)
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     ไม่มี
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  2.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
   400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
250
1,200
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
 1,130
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จำนวน 1,900 บาท

  2.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
2,400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ชำระไว้เกิน  
(1,750)
(800)
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
(870)
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 950 (600 + 350) บาท

  2.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
1,400
(1,350)
  ซื้อเกิน
ภาษีชำระไว้เกิน  
(1,750)
200
1,950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
130
1,950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 130 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 200 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 1,350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 1,950 (600 + 1,350) บาท

  2.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
2,000
1,250
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   250
(400)
(650)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
(470)
(650)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 600 บาท

3. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
2,500
2,500
  0
 
ภาษีซื้อ  
2,000
2,000
  0
 
ภาษีต้องชำระ  
  400
  500
 100
 
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (20)
   (20)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   380
   480
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 480 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

4. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

5. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,300 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี




6. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  6.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,200
(300)
  ขายเกิน
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
600
100
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
   530
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 100 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายเกิน ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,500
0
  ขายถูกต้อง
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
900
400
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
(950)
(950)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
(50)
(400)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 400 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้อง ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
2,000
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
800
(200)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
2,700
2,200
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (950)
 (950)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
1,750
2,200
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,750 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 2,200 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 2,000 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 2,200 บาท

  6.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
2,600
(1,600)
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   500
(200)
(700)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
(270)
(700)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 900 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 900 บาท


7. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง
  7.1 กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,500
0
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,200
      0
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,300
0
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,050
 100  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

  7.2 กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,800
300
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,000
  (200)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,800
500
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,550
 600  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 600 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 500 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 300 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 500 บาท

  7.3 กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,550
50
ภาษีซื้อ  
1,000
3,420
3,400
  (20)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
80
150
70
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 (270)
 (100)
  170  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 70 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 50 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 20 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท




ที่มา : LINK
 2078
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning คือ ระบบที่ใช้ในการจัดการและวางแผนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยจะเชื่อมโยงระบบงานต่างๆ ขององค์กรไว้ในที่เดียวกัน เพื่อให้เป็นระบบมาตรฐานเดียวกัน ทั้งระบบจัดซื้อ ระบบบัญชี ระบบการบริหาร และระบบการจัดการบุคคล มีจุดประสงค์เพื่อให้มีการบริหารและใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
แผนกจัดซื้อเป็นหน่วยงานแยกต่างหากหรือมีพนักงานจัดซื้อไม่เกี่ยวข้อง
หากเราเลือกวิธีการประหยัดภาษีต่างๆ ที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย อาจทำให้เกิดอันตรายต่อฐานะการเงินของเราได้ กรมสรรพากรจะตรวจสอบว่า วิธีการที่เราใช้นั้นมันผิดกฎหมายจนทำให้ชำระภาษีขาดไป อาจจะเป็นเรื่องใหญ่แน่
ค่าเบี้ยประกันสามารถนำมาเป็นค่าลดหย่อน สำหรับยื่นแบบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ แต่ไม่ใช่ว่าเบี้ยประกันจากกรมธรรม์ทุกประเภทจะนำมาขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้เสมอไป จะต้องเป็นกรมธรรม์ตรงตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด สำหรับผู้เสียที่ต้องการใช้สิทธิในส่วนนี้ ต้องทำความเข้าใจถึงค่าเบื้ยประกันที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ โดยแยกตามประเภทของเบี้ยประกันดังนี้
การบัญชีในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญต่อทุกๆกิจการ การทำงานของบัญชีก็มีหลายส่วนงานด้วยกัน ซึ่งส่วนงานที่สำคัญของบัญชีก็คือการออกงบการเงิน ในงบการเงินประกอบด้วย 5 งบที่สำคัญคือ
ในการทำบัญชีนั้น ผู้ทำบัญชีต้องจัดทำตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน แต่สำหรับการยื่นภาษีในทุกๆปี ต้องแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายโดยใช้หลักเกณฑ์ประมวลรัษฎากร และเป็นที่แน่นอนว่า การใช้หลักเกณฑ์ที่แตกต่างกัน ย่อมทำให้มีผลต่างเกิดขึ้นระหว่างบัญชีและภาษี 

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์