ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล

ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล


“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
?”

ปัจจุบันถ้ากล่าวถึงผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  (Information System Auditor)  หลายท่านอาจเกิดความสงสัยว่าอาชีพนี้มีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง

ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยประเภทหลักๆ

1.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอิสระหรือภายนอก (External IS Auditor)
2.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน (Internal IS Auditor)
3.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกรณีพิเศษ (Special IS Auditor)



“ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล” ดังนั้นจะเห็นได้ว่าผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนสำคัญของหน่วยงาน ที่จะช่วยนำองค์กรบรรลุเป้าหมายขององค์กร

“สิ่งสำคัญของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยี”

       ทักษะและความรู้ (Skill and Knowledge)
ของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนสำคัญมาก



“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องมีประกอบด้วย 2 ส่วน”

1.ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ที่จำเป็นต้องมี เช่น วิสัยทัศน์ขององค์กร, กระบวนการตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, การบริหารความเสี่ยง, กระบวนการทางธุรกิจ,  ความมั่นคงปลอดภัยทางด้านสารสนเทศ,การวิเคราะห์เชิงทำนาย, ปัญญาประดิษฐ์

2.ทักษะ (Skill)

ทักษะที่จำเป็นต้องมี เช่น ทักษะทางด้านการคิดและการใช้เหตุผล,ทักษะด้านอารมณ์ ความรู้สึก, ทักษะด้านภาษา, ทักษะในการแสวงหาความรู้, ทักษะด้านการจัดการ, ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ, ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น, การติดต่อสื่อสาร และการเขียน/อ่าน เอกสารและรายงาน

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!



ขอบคุณบทความจาก : www.spu.ac.th 
 901
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

การบัญชีในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญต่อทุกๆกิจการ การทำงานของบัญชีก็มีหลายส่วนงานด้วยกัน ซึ่งส่วนงานที่สำคัญของบัญชีก็คือการออกงบการเงิน ในงบการเงินประกอบด้วย 5 งบที่สำคัญคือ
แน่นอนว่าผู้ยื่นภาษีไม่ทันตามที่กำหนดนั้น นอกจากจะต้องเตรียมตัวเตรียมใจกับค่าปรับที่จะต้องเจอแล้วนั้น สิ่งที่ต้องเตรียม คือเอกสารที่จะใช้ประกอบเพื่อยื่นภาษีย้อนหลังนั้น มีอะไรบ้าง ได้รวบรวมข้อมูลจากกรมสรรพากรมาฝากกัน
ตามมาตรา 12 แห่งประมวลรัษฎากร หากบุคคลใดมีภาษีอากรค้าง กรมสรรพากรสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์และขายทอดตลาดได้เลยโดยยังไม่ต้องฟ้องต่อศาลก่อนก็ได้  และระยะเวลาที่มีอํานาจทําได้ก็เป็นเวลานานถึง 10 ปี
การปิดบัญชี คือ การทำให้ตัวเลขในบัญชีตรงกับความเป็นจริง บัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายจะถูกปิดยอดคงเหลือ โอนไปบัญชีกำไรขาดทุน และยอดคงเหลือของบัญชีกำไรขาดทุนจะโอนไปยังบัญชีทุนพร้อมๆ กับยอดคงเหลือของบัญชี ถอนใช้ส่วนตัว  กิจการสามารถพิสูจน์ความถูกต้องของยอดคงเหลือจากบัญชีแยกประเภทได้โดยการทำงบทดลอง หลังปิดบัญชี  
วันนี้เราจะมาดูกันว่าเจ้าของจะสามารถนำเงินออกจากบริษัทได้โดยทางใดบ้าง และแต่ละทางมีข้อดี-ข้อเสียทางภาษีที่แตกต่างกันอย่างไร
เรื่องของบัญชีและภาษีได้อยู่ควบคู่กับธุรกิจมาอย่างยาวนาน ผู้ที่ทำธุรกิจควรมีความรู้และความเข้าใจในบัญชีและภาษีในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการทำบัญชีเบื้องต้นและการยื่นภาษีอากร แม้ว่าคุณจะไม่ได้ทำหน้าที่เหล่านั้นด้วยตัวคุณเอง แต่ในฐานะที่คุณทำธุรกิจมันจำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องเข้าใจในระดับหนึ่ง

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์