sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30
เป็นการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากตาม ภ.ง.ด.50 หรือ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT: Corporate Income Tax) จะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ส่วนภ.พ. 30 (VAT) เป็นการรับรู้รายได้ตาม Tax Point ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการรับรู้ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ และประเภทรายได้ที่เกิดขึ้นด้วย
ตามตัวอย่างที่แสดงให้ดูในตารางสรุปด้านล่าง ดังนี้
ประเภทรายการ
ขายสินค้า (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อส่งมอบสินค้า
เช่าซื้อ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ส่งออก (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เมื่อส่งมอบหรือโอนความเสี่ยงตามตกลง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อผ่านพิธีศุลกากร FOB มาตรา 79 (1)
ให้บริการ (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อรับชำระเงิน
เงินสนับสนุน/ช่วยเหลือ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ค่าปรับ/สินไหม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ส่งออกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้รายได้ตามมาตรา 70 ตรี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ส่งออกอัตรา 0
ขายทรัพย์สินเก่า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เฉพาะส่วนที่เป็นกำไร
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT ทั้งจำนวน
แจกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ถือเป็นรายจ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT
ดอกเบี้ย/เงินปันผล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!
ขอบคุณบทความจาก ::
Ddproperty
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
2054
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
12 เรื่องสำคัญนักบัญชีต้องเตรียมพร้อมและปรับตัว
12 เรื่องสำคัญนักบัญชีต้องเตรียมพร้อมและปรับตัว
ในวงการวิชาชีพบัญชี ประเด็นที่ค่อนข้างสำคัญต่อการเปลี่ยนผ่านและเปลี่ยนแปลง เนื่องจากด้านเทคโนโลยีในวงการวิชาชีพบัญชียังคงพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง นับวันยิ่งเป็นไปอย่างก้าวกระโดด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ก็ช่วยให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลอย่างเห็นได้ชัดอย่างใน ปี 2020 แนวโน้มจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง นักบัญชีจะต้องเตรียมความพร้อมและรับมืออย่างไร
การคำนวณต้นทุนการผลิตแบบง่าย
การคำนวณต้นทุนการผลิตแบบง่าย
การคำนวณต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของระบบบัญชีและการเงินของกิจการ เป็นการบันทึกการวัดผลและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนของสินค้าของกิจการ โดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนจะใช้เวลาและลงรายละเอียดมากในกิจการที่ผลิตสินค้า แต่ไม่ได้หมายความว่ากิจการประเภทอื่นเช่นกิจการขายส่ง ขายปลีก ร้านอาหารหรือบริการต่างๆไม่มีความสำคัญในการที่ต้องคำนวณต้นทุนเลย การคำนวณต้นทุนสามารถนำไปใช้ได้ในทุกกิจการเพราะมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการธุรกิจดังนี้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีเพิ่มให้รัฐ ไม่ใช่เพิ่มค่าใช่จ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีเพิ่มให้รัฐ ไม่ใช่เพิ่มค่าใช่จ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value-added tax หรือ VAT) คือ ภาษีประเภทหนึ่งซึ่งผู้ประกอบการแต่ละคนจะมีหน้าที่นำส่ง โดยเก็บจากการเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า โดยปกติเมื่อมีการซื้อสินค้าเราจะจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มรวมอยู่ในราคาสินค้า ให้แก่ผู้ที่ขายสินค้าให้เรา เมื่อเรานำไปขายต่อเราก็มีหน้าที่เก็บภาษีเพิ่มขึ้นมาเพื่อนำส่งสรรพากร หากเราไม่คิดราคาสินค้าที่มีการรวมและแยกภาษีมูลค่าเพิ่มให้เรียบร้อย สุดท้ายแล้วเราจะเข้าเนื้อเพราะต้องออกเงินส่วนนั้นเพื่อนำส่งภาษีเอง
การควบคุมคลังสินค้า มีหลักการอย่างไร?
การควบคุมคลังสินค้า มีหลักการอย่างไร?
ความหมายของการจัดการคลังสินค้า (Introduction to Warehouse Management)คลังสินค้า หมายถึง พื้นที่ที่ได้วางแผนแล้วเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการใช้สอยและการเคลื่อนย้ายสินค้าและวัตถุดิบ โดยคลังสินค้าทำหน้าที่ในการเก็บสินค้า ระหว่างกระบวนการเคลื่อนย้ายเพื่อสนับสนุนการผลิตและการกระจายสินค้า ซึ่งสินค้าที่เก็บในคลังสินค้าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่1. วัตถุดิบ (Material) ซึ่งอยู่ในรูป วัตถุดิบ ส่วนประกอบและชิ้นส่วนต่างๆ2. สินค้าสำเร็จรูปหรือสินค้า จะนับรวมไปถึงงานระหว่างการผลิต ตลอดจนสินค้าที่ต้องการทิ้งและวัสดุที่นำมาใช้ใหม่
ความสำคัญของการลงทุน และความสำคัญของงบการเงิน (งบดุล) คืออะไร
ความสำคัญของการลงทุน และความสำคัญของงบการเงิน (งบดุล) คืออะไร
นักลงทุนควรที่ความสำคัญกับการทำความเข้าใจในงบการเงินของกิจการ โดยนักลงทุนจะต้องทราบถึงความสำคัญของงบการเงิน ว่ามีความสำคัญอย่างไร เพราะข้อมูลในงบการเงินของแต่ละกิจการนั้น จะสามารถบ่งชี้ให้เราทราบถึงโอกาสในการลงทุนโดยดูจากข้อมูลภายในงบการเงินนั้นๆ งบการเงินของบริษัท ซึ่งในบทความนี้ผู้เขียนต้องการที่จะกล่าวถึง สาระสำคัญของงบการเงินที่นักลงทุนควรที่จะต้องพิจารณา โดยมีด้วยกันอยู่ 2 รายงาน และ 3 งบ ดังนี้
ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
ความรู้เกี่ยวกับหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นได้ในทางบัญชี
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com