กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง

กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง


กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง


เอกสารที่เกี่ยวข้อง

1. สำเนาแบบแสดงรายการที่ได้ยื่นชำระภาษีไว้ในประเทศไทย เช่น ภ.ง.ด. 54
2. สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าภาษีอากรที่กรมสรรพากรออกให้
3. หลักฐานแสดงการส่งเงินได้ดังกล่าวออกนอกประเทศไทย เช่น คำขออนุมัติซื้อเงินตราต่างประเทศที่ยื่นผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ แบบ ธ.ต. 4 (ถ้ามี) ใบแจ้งหักบัญชีลูกหนี้ของธนาคารพาณิชย์ (Debit Note) ในกรณีที่ได้ส่งเงินได้ดังกล่าวออกนอกประเทศเป็นเงินตราต่างประเทศ จะต้องแสดงอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันส่งเงิน หลักฐานแสดงการรับเงิน (กรณีการจ่ายเงินในประเทศ)
4. สำเนาหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (ถ้ามี)
5. หนังสือเรียกเก็บเงินของผู้รับเงินได้ในต่างประเทศ (Invoice)
6. เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง และจำเป็นต่อการพิจารณา เช่น สัญญา หรือ ข้อตกลงที่ก่อให้เกิดการจ่าเงินได้ (กรณีที่สงสัยว่าเป็นการจ่ายเงินได้ประเภทใด) ชื่อ ที่อยู่ ของผู้รับ และผู้จ่ายเงินได้เป็นภาษาอังกฤษ

กรณีการจ่ายเงินได้ประเภทเงินปันผล นอกจากหลักฐานข้างต้นจะต้องพิจารณาหลักฐานเพิ่มเติม ดังนี้


1. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
2. มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้จ่ายเงินปันผล
3. ภ.ง.ด. 50 รอบบัญชีที่ประกาศจ่ายเงินปันผล

แบบฟอร์มหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย


สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!



ขอบคุณบทความจาก : www.rd.go.th
 471
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ป้ายที่ต้องเสียภาษีได้แก่ป้ายที่แสดงชื่อ ยี่ห้อหรือเครื่องหมาย ที่ใช้ในการประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่น เพื่อหารายได้หรือโฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น ดังนั้นลักษณะของป้ายที่เสียภาษี ? ก็คงเป็นป้ายที่เกี่ยวกับการค้าหรือกิจการหารายได้ต่างๆนั้นเอง
ผู้ประกอบการที่มีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว นอกจากจะมีหน้าที่เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อหรือผู้รับบริการพร้อมออกใบกำกับภาษีเป็นหลักฐาน ยังต้องจัดทำรายงานภาษีซื้อและภาษีขายด้วย เรื่องนี้มีความสำคัญอย่างไร 
การบัญชีที่เกี่ยวกับสินค้าและการจัดเก็บสินค้ามีความ สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับรายการบัญชีประเภทอื่น ยกตัวอย่างเช่น บริษัท นกช้าง จำกัด มี การนำวัตุดิบและแรงงานทางตรงเข้าสู่ระบบการบัญชีสินค้าและการจัดเก็บสินค้า บริษัทฯก็ควรทราบว่าต้องมีฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
การดำเนินธุรกิจใดก็ตามมีจุดประสงค์ร่วมกันอยู่หนึ่งอย่างคือ แสวงหากำไรหรือรายได้รายได้ให้ได้มากที่สุด ซึ่งแน่นอนว่าสินค้าก็เป็นส่วนประกอบหนึ่ง ในปัจจุบันผลผลิตของบริษัทแบ่งเป็นสองประเภทคือการขายสินค้าและการให้บริการ ซึ่งการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการจัดการสินค้าตั้งแต่การสั่งซื้อจนไปถึงการ ขายออกไปจำเป็นต้องอาศัยข้อสันนิษฐาน เพราะจำนวนสินค้าเข้าออกในแต่ละบริษัทมีจำนวนมาก และหากบันทึกสินค้าทุกชิ้นย่อมทำให้เกิดค่าใช้จ่ายสูง และประโยชน์ที่ได้รับก็อาจยังไม่คุ้มค่ากับผลที่ได้อีกด้วย
อัตราส่วนทางการเงิน  ( Financial ratio) เป็นการนำตัวเลขที่อยู่ในงบการเงิน มาหาอัตราส่วนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกิจการอื่นหรือ เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในอดีต ช่วยให้ผู้วิเคราะห์ประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้ม และความเสี่ยง ของกิจการได้ดียิ่งขึ้น

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์