กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง

กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง


กรณีที่จะขอหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายมีเอกสารอะไรบ้าง


เอกสารที่เกี่ยวข้อง

1. สำเนาแบบแสดงรายการที่ได้ยื่นชำระภาษีไว้ในประเทศไทย เช่น ภ.ง.ด. 54
2. สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าภาษีอากรที่กรมสรรพากรออกให้
3. หลักฐานแสดงการส่งเงินได้ดังกล่าวออกนอกประเทศไทย เช่น คำขออนุมัติซื้อเงินตราต่างประเทศที่ยื่นผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ แบบ ธ.ต. 4 (ถ้ามี) ใบแจ้งหักบัญชีลูกหนี้ของธนาคารพาณิชย์ (Debit Note) ในกรณีที่ได้ส่งเงินได้ดังกล่าวออกนอกประเทศเป็นเงินตราต่างประเทศ จะต้องแสดงอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันส่งเงิน หลักฐานแสดงการรับเงิน (กรณีการจ่ายเงินในประเทศ)
4. สำเนาหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (ถ้ามี)
5. หนังสือเรียกเก็บเงินของผู้รับเงินได้ในต่างประเทศ (Invoice)
6. เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง และจำเป็นต่อการพิจารณา เช่น สัญญา หรือ ข้อตกลงที่ก่อให้เกิดการจ่าเงินได้ (กรณีที่สงสัยว่าเป็นการจ่ายเงินได้ประเภทใด) ชื่อ ที่อยู่ ของผู้รับ และผู้จ่ายเงินได้เป็นภาษาอังกฤษ

กรณีการจ่ายเงินได้ประเภทเงินปันผล นอกจากหลักฐานข้างต้นจะต้องพิจารณาหลักฐานเพิ่มเติม ดังนี้


1. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
2. มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้จ่ายเงินปันผล
3. ภ.ง.ด. 50 รอบบัญชีที่ประกาศจ่ายเงินปันผล

แบบฟอร์มหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย


สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!



ขอบคุณบทความจาก : www.rd.go.th
 475
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

สำหรับ "บริษัทจำกัด" ที่มีวันสิ้นรอบปีบัญชี คือ 31 ธันวาคม 2566 จะต้องปิดงบการเงิน ยื่นงบการเงิน และยื่นภาษีบริษัทประจำปี ภายในวันสุดท้ายดังนี้
การเปิดสำนักงานบัญชีถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่เป็นที่ผู้ทำงานในวิชาชีพบัญชีหลายๆ ท่านกำลังให้ความสนใจ เพราะธุรกิจนี้เริ่มได้ง่ายๆ ทำเงินได้สม่ำเสมอ และที่สำคัญ Demand ความต้องการของผู้ทำบัญชีนั้นนับวันก็จะยิ่งเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ตามจำนวนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย 
กระดาษทำการ (Work Sheet) หมายถึง แบบฟอร์มที่รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นในการจัดทำงบการเงินมาไว้ที่เดียวกันกระดาษทำการเป็นเครื่องมือสำคัญในการปรับปรุงรายการตอนสิ้นงวดก่อนปิดบัญชีดังนั้นกระดาษทำการจะจัดทำขึ้นภายหลังที่ได้จดบันทึกรายการต่าง ๆ ของธุรกิจในบัญชีครบถ้วนแล้วแต่ยังไม่ได้ลงรายการปรับปรุงและปิดบัญชี
ในช่วงนี้ (มกราคม-มีนาคม) ของทุกปี เป็นช่วงเวลาที่ทุกคนที่มีเงินได้ต้องยื่นเสียภาษี สำหรับผู้ที่เริ่มทำงานใหม่ ๆ อาจมีข้อสงสัยว่า ภาษีคำนวณอย่างไร แล้วเมื่อไรที่เราจะต้องเริ่มเสียภาษี มาดูกันค่ะ
ทุกธุรกิจจะต้องจัดทำบัญชีขึ้นมาเพื่อนำไปยื่นเสียภาษี ยื่นกู้เงิน และเพื่อเป็นการตรวจสอบรายการรายรับรายจ่ายให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด เนื่องจากการทำบัญชีเดียวทำให้สรรพากรสามารถตรวจสอบบัญชีได้ง่ายกว่าและเป็นการทำบัญชีที่สุจริตที่ใคร ๆ ก็สามารถเห็นที่มาการเข้าออกของเงินได้อย่างสุจริต และไม่เป็นการจงใจหลีกเลี่ยงภาษี

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์