sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ย้อนกลับ
เมื่อใดที่มีการทางสัญญาทางธุรกิจต่างๆเช่น สัญญาเช่า สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน สัญญาจ้างทาของ สัญญากู้ยืมเงิน เป็นต้น กฎหมาย
กำหนดให้เสียค่าอากรแสตมป์โดยเป็นอากรที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการำตราสารต่างๆ ตามลักษณะที่ได้กำหนดเอาไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ท้ายประมวลกฎหมายรัษฎากร นอกจากนี้ยังมีความสำคัญเป็นอย่างมากในตราสารที่จะใช้อ้างเป็นพยานหลักฐานในทางคดี ซึ่งจะต้องมีการติดอากรแสตมป์ตามอัตราที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย ปัจจุบันกำหนดให้มีตราสารที่ต้องปิดอากรแสตมป์จำนวนทั้งสิ้น 28ลักษณะ ตามที่ปรากฏในช่อง “ลักษณะตราสาร”ของบัญชีอากรแสตมป์ โดยต้องปิดแสตมปบริบูรณ์ตามอัตราที่กำหนดไว้ในบัญชีนั้น และโดยที่ตราสารเกือบทุกลักษณะจำเป็นต้องมีการกระทำซึ่งคำว่า “กระทำ” เมื่อใช้เกี่ยวกับตราสารหมายความว่า การลงลายมือชื่อตามบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในทางปฏิบัติ หากบุคคลได้ทำสัญญาและกรณีสัญญาใดที่ทำขึ้นนั้น เข้าลักษณะเป็นตราสาร
ตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ได้เกิดขึ้นและได้เสียค่าอากรแสตมป์ไปแล้ว ต่อมาเป็นกรณีที่ได้เสียไว้เกินหรือไม่มีหน้าที่ต้องเสีย ผู้ที่ได้ชำระอากร
จะมีสิทธิขอคืนค่าอากรได้หรือไม่ ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้างตามที่ประมวลรัษฎากรกำหนดพิจารณาได้ดังนี้
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
1. ผู้ใดได้เสียค่าอากรหรือค่าเพิ่มอากรเกินไปไม่น้อยกว่า 2 บาท
2. ให้ยื่นคำร้องภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันเสียอากรหรือค่าเพิ่มอากร
3. คำร้องต้องประกอบด้วยคำชี้แจงหรือเอกสาร ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรืออธิบดีเห็นสมควรให้ยื่นการสนับสนุนคำร้อง
4. อธิบดีเห็นว่าเกินไปจริงผลตามกฎหมาย คืนค่าอากรหรือค่าเพิ่มอากรที่เกินไปนั้นแก่ผู้เสียอากรได้
ข
อบคุณบทความจาก ::
สรรพากรสาส์น
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!
อากรแสตมป์
535
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
บริษัทขาดทุนต้องเสียภาษีหรือไม่
บริษัทขาดทุนต้องเสียภาษีหรือไม่
เมื่อธุรกิจขาดทุน สำหรับบุคคลธรรมดาจะต้องเสียภาษีขั้นต่ำอัตรา 0.5% ของเงินได้ ถ้าภาษีที่คำนวนได้ไม่ถึง 5,000 บาท ได้รับยกเว้นภาษีและผลขาดทุนสะสมไม่สามารถยกไปหักกับเงินได้ในปีถัดไป แต่สำหรับนิติบุคคลเมื่อขาดทุนจะไม่เสียภาษีและผลขาดทุนสามารถนำไปหักจากกำไรในปีอื่นได้ไม่เกิน 5 ปี
ลูกหนี้การค้า
ลูกหนี้การค้า
ลูกหนี้การค้า ถือเป็นหัวใจหลักที่กระทบกับสภาพคล่องของธุรกิจ ถ้าธุรกิจบริหารจัดการ ลูกหนี้การค้าไม่ดี ติดปัญหารายได้ค้างรับ คือขายของเป็นเงินเชื่อแล้วไม่สามารถเก็บเงินได้ ต้องเกิดบัญชีลูกหนี้การค้า ขึ้น หรือต้องแทงลูกหนี้การค้าเป็นหนี้สูญ ธุรกิจมีปัญหาเงินขาดมือ ต้องไปกู้หนี้ยืมสินเพื่อหมุนเงิน สุดท้ายส่งผลกระทบมายังนักลงทุนที่อาจไม่ได้รับเงินปันผล เนื่องจากบริษัทมีเงินสดขาดมือ ขาดสภาพคล่องในเรื่องของเงินทุนหมุนเวียน ดังนั้นนักลงทุนควรเลือกลงทุนกับบริษัทที่มีความสามารถในการจัดการหนี้สินได้เป็นอย่างดี
การควบคุมภายในเกี่ยวกับการซื้อ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับการซื้อ
แผนกจัดซื้อเป็นหน่วยงานแยกต่างหากหรือมีพนักงานจัดซื้อไม่เกี่ยวข้อง
ผู้ประกอบการทำบัญชีเองได้มั้ย ?
ผู้ประกอบการทำบัญชีเองได้มั้ย ?
มีผู้ประกอบการหลายท่านที่ทำเอกสารต่างๆเอง ยื่นภาษีเอง มีความรู้ทางด้านภาษีเป็นอย่างดี และไม่อยากเสียเงินจ้างนักบัญชี และก็มีคำถามมาตลอดว่าสามารถทำบัญชีเองได้รึป่าว วันนี้แอดเลยสรุปให้ง่ายๆฉบับนักบัญชียุคใหม่
การจัดหมวดบัญชีและผังบัญชี
การจัดหมวดบัญชีและผังบัญชี
การที่จะทำการบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ให้ละเอียดและเป็นระเบียบเรียบร้อยสะดวกแก่การจัดทำรายงานเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาภายหลังนั้น ควรจัดบัญชีต่าง ๆ ให้เป็นหมวดหมู่และกำหนดเลขที่สำหรับหมวดหมู่บัญชีไว้ใน “ผังบัญชี” (Chart of Account)
ปิดบัญชี ประจำปี จัดทำงบการเงิน
ปิดบัญชี ประจำปี จัดทำงบการเงิน
การปิดบัญชี คือ การทำให้ตัวเลขในบัญชีตรงกับความเป็นจริง บัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายจะถูกปิดยอดคงเหลือ โอนไปบัญชีกำไรขาดทุน และยอดคงเหลือของบัญชีกำไรขาดทุนจะโอนไปยังบัญชีทุนพร้อมๆ กับยอดคงเหลือของบัญชี ถอนใช้ส่วนตัว กิจการสามารถพิสูจน์ความถูกต้องของยอดคงเหลือจากบัญชีแยกประเภทได้โดยการทำงบทดลอง หลังปิดบัญชี
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com