เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท

เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท


เงินฝากธนาคาร (Bank Commercial) 5 ประเภท มี กี่ แบบ อะไรบ้าง 

เงินฝาก ธนาคาร เป็นเงินประเภทที่ใช้จ่ายในกิจการ มีลักษณะเป็นเงินฝากกระแสรายวัน หรือเป็นรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินฝาก ธนาคาร (Cash in Bank or Deposit) หมายถึง เงินฝาก ธนาคารทุกประเภท บัตรเงิน ฝากที่ออกโดยธนาคาร และสลากออมสินพิเศษ … ดังนั้นในปัจจุบันจึงถือเอาบัญชีเงินฝากออมทรัพย์แสดงรวมไว้ในบัญชีเงินฝาก ธนาคาร 

ประเภทของเงินฝาก

  • บัญชีเงินฝากเดินสะพัด บริการฝากเงินหรือถอนเงินเมื่อไหร่ก็ได้ กี่ครั้งก็ได้ สามารถเขียนเช็คสั่งจ่ายเงินในบัญชีได้ โดยเงินฝากได้รับการคุ้มครองจากสถาบันเงินฝาก ตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด
  • บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากที่ผู้ฝากจะเบิกถอนเมื่อใดก็ได้ โดยนำเอกสารคู่ฝากไปเบิกที่ธนาคาร หรือถอนจากเครื่องเอทีเอ็ม
  • บัญชีเงินฝากประจำ มี 2 ประเภท
    • ระยะสั้น เป็นรูปแบบการฝากเงินที่มีกำหนดระยะเวลาฝาก 1 เดือน เงินฝากประจำนี้ ธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยให้เมื่อครบกำหนดฝาก และหักภาษี ณ ที่จ่าย จากนั้นจะนำดอกเบี้ยสุทธิ รวมเข้าเป็นเงินต้น (จ่ายแบบดอกเบี้ยทบต้น)
    • แบบทั่วไป บัญชีฝากประจำที่ ให้คุณสามารถเลือกที่จะฝากเงินได้ตามระยะเวลาที่คุณต้องการ ไม่ว่าจะเป็น ฝากประจำระยะสั้น ฝากประจำระยะยาว ความเสี่ยงต่ำ ใช้ค้ำประกันสินเชื่อได้
  • บัญชีเงินฝากระยะยาว ใช้เป็นหลักประกัน ขอสินเชื่อหรือค้ำประกัน มักจ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนดระยะเวลาการฝาก ตามระยะเวลาการฝากที่เลือก
  • บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ บัญชีเงินฝากสำหรับบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ต้องการฝากเงินไว้ในรูปแบบเงินตราต่างประเทศ เช่น ดอลลาร์ สรอ. (USD) ยูโร (EUR) เยน (JPY) เป็นต้น เหมาะ
สรุปโดยรวม ประเภทเงินฝาก
  1. บัญชีเงินฝากเดินสะพัด
  2. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
  3. บัญชีเงินฝากประจำ
  4. บัญชีเงินฝากระยะยาว
  5. บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ

ขอบคุณบทความจาก :: https://www.pangpond.com
 711
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

เราไปดูกันว่า 7 ทักษะ Soft skills ที่นักวิชาชีพตรวจสอบบัญชี (Auditor) ควรมีนั้น มีอะไรบ้าง
ถ้าคุณจบปริญญาตรี สาขาบัญชีมา  โดยทั่วไปจะสามารถเลือกเข้าทำงานในบริษัทได้หลายรูปแบบ จะเลือกทำงานในบริษัทที่เป็นผู้ผลิต หรือผู้ขายก็ได้  หรือจะเลือก หางานบัญชีบริษัทตรวจสอบบัญชีก็ได้ ทั้ง 2  กรณีนี้จะมีรูปแบบการทำงานแตกต่างกัน
ภาษีป้ายเป็นภาษีซึ่งองค์กรปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่ในการจัดเก็บ  เพื่อหารายได้มาพัฒนาท้องถิ่นของตน  โดยจัดเก็บจากป้ายแสดงชื่อยี่ห้อ หรือเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะแสดงโฆษณาไว้ที่วัตถุใดๆ ด้วยอักษรภาพหรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลักจารึก หรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่นๆ 
อัตราส่วนทางการเงิน  ( Financial ratio) เป็นการนำตัวเลขที่อยู่ในงบการเงิน มาหาอัตราส่วนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกิจการอื่นหรือ เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในอดีต ช่วยให้ผู้วิเคราะห์ประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้ม และความเสี่ยง ของกิจการได้ดียิ่งขึ้น
อ้างอิงจากประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง  กำหนดชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี ระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี  และเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี พ.ศ.2544 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 (1) (2) (3) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติการบัญชีพ.ศ. 2543 อธิบดีกรมทะเบียนการค้าออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์