ภาษีมูลค่าเพิ่ม เจ้าของกิจการ เสียจริงหรือ ?

ภาษีมูลค่าเพิ่ม เจ้าของกิจการ เสียจริงหรือ ?


ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ Vat 7% ทำไมถึงต้องเก็บ ?

-เพื่อแบ่งภาระในการเก็บภาษีของรัฐบาล

ภาษีมูลค่าเพิ่มจะเก็บจากลูกค้าหรือผู้บริโภค คือ ราคาของ*7% +ราคาของ = ราคาของที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

เช่น ซื้อของ 100 บาท 100*7% + 100 =107 

100 คือ ราคาของสินค้า

7     คือ ภาษี ที่จะเสียให้รัฐบาล

ภาษีซื้อกับภาษีขายต่างกันยังไง

ภาษีซื้อ เกิดจากการที่เราไปซื้อของหรือสินค้าต่างๆนั้นจะเป็นภาษีซื้อ

ภาษีขาย เกิดจากการที่เราขายสินค้าได้และต้องนำส่งให้กรมสรรพากร

คิดภาษีมูลค่าเพิ่มยังไง

วิธีการคิด ภาษีขาย - ภาษีซื้อ = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเสียหรือได้คืน

ถ้าเดือนนั้นกิจการซื้อของมากกว่าขายของในเดือนนั้น ภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะไม่ต้องเสีย

การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น เป็น การเรียกเก็บจากผู้บริโภค และกิจการมีหน้าที่เพียงนำส่งเท่านั้น


ที่มา : Link
 554
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ค่าเบี้ยประกันสามารถนำมาเป็นค่าลดหย่อน สำหรับยื่นแบบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ แต่ไม่ใช่ว่าเบี้ยประกันจากกรมธรรม์ทุกประเภทจะนำมาขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้เสมอไป จะต้องเป็นกรมธรรม์ตรงตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด สำหรับผู้เสียที่ต้องการใช้สิทธิในส่วนนี้ ต้องทำความเข้าใจถึงค่าเบื้ยประกันที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ โดยแยกตามประเภทของเบี้ยประกันดังนี้
ก่อนเริ่ม วางแผนภาษี เจ้าของกิจการจำเป็นต้องศึกษาความรู้เรื่องภาษีเสียก่อน เพราะเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการทำบัญชี และการยื่นภาษีแก่สรรพากร  กิจการจะสามารถวางแผนภาษีได้ ก็ต่อเมื่อทราบก่อนว่าต้องยื่นแบบฯ ภาษีใดบ้างภาษีหลักๆ และกำหนดเวลาในการยื่นภาษีแต่ละประเภท มีดังนี้
บัญชีลูกหนี้กรรมการ หรือ เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ ถือเป็นสินทรัพย์ของกิจการ ซึ่งมีกรรมการเป็นผู้ยืมเงินไป และจะเคลียร์บัญชีนี้ได้ กรรมการจะต้องจ่ายชำระเงินคืนกลับมาแก่บริษัทเสียก่อน เรามักจะเจอรายการนี้บ่อยๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน บ้างก็จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน บ้างก็เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
รายการที่นิติบุคคลสามารถนำมาลดหย่อนภาษีจุดมุ่งหมายเช่นเดียวกับ การลดหย่อนภาษีสำหรับบุคคลธรรมดา ทั้งนี้เพื่อให้การชำระภาษีในปีนั้น ๆ มีจำนวนน้อยลง เพราะมีการหักค่าใช้จ่ายในแต่ละปีภาษีมากขึ้น ต่างกันเพียงแค่รายการที่นิติบุคคลสามารถนำมาลดหย่อนแตกต่างจากบุคคลธรรมดาเท่านั้น โดยรายการที่นิติบุคคลสามารถนำมาลดหย่อนได้ มีดังนี้
ณ วันสิ้นงวดบัญชี สิ่งหนึ่งที่สำคัญที่นักบัญชีต้องทำก่อนการจัดทำงบการเงิน คือ ปิดบัญชี ปรับปรุงรายการบัญชี และแก้ไขข้อผิดพลาดจากการบันทึกบัญชีต่างๆ เพื่อให้การจัดทำงบการเงินถูกต้องตรงตามความเป็นจริงมากที่สุดซึ่งแน่นอนว่า ในการปรับปรุงปิดบัญชี ณ วันสิ้นงวด จะมีรายการที่เคยรับรู้ในระหว่างงวดมาก่อน แต่ต้องทำการปรับปรุงให้ถูกต้องตอนสิ้นปี หรือบางรายการที่ไม่เคยรับรู้มาก่อน แต่ต้องทำการปรับปรุงการบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์คงค้างในการปรับปรุงรายการบันทึกบัญชี มีโอกาสที่นักบัญชีจะปรับปรุงรายการได้ไม่ครบถ้วน ในบทความนี้เรารวบรวมรายการที่มักลืมปรับปรุงตอนปิดบัญชีบ่อยๆ มาให้เพื่อนๆ สำรวจตัวเองกันค่ะ

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์