ธุรกิจซื้อมาขายไป

ธุรกิจซื้อมาขายไป


แนวทางการบันทึกบัญชี ธุรกิจซื้อมาขายไป การขายสินค้าออนไลน์

ธุรกิจซื้อมาขายไป ประกอบด้วย รายได้ และค่าใช้จ่ายรายได้ที่ต้องไปเสียภาษีมูลค่าเพิ่มคือ

1.มีการส่งสินค้า
Dr ลูกหนี้
Cr รายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม

2.ลูกค้าโอนเงินก่อนส่งสินค้า
Dr เงินฝากธนาคาร
Cr เงินมัดจำ
ภาษีขาย
 
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ประเภท คือ

1 ต้นทุนขาย ประกอบด้วย
1.1 สินค้าสำเร็จรูป
1.2 ค่าวัสดุหีบห่อ
1.3 ค่าขนส่ง
1.4 ค่าธรรมเนียมการนำเข้า
1.5 ค่าบริการการนำเข้า
1.6 ค่าโฆษณา facebook google
1.7 ค่าทำเวปไซด์
1.8 ค่าจ้างแรงงาน
1.9 ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย กรณีขาย ผ่าน shopee หรือ lazada
1.10.ค่าไฟฟ้า โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต

2.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ประกอบด้วย
2.1 เงินเดือน
2.2 ค่าประกันสังคม
2.3 ค่าคอมมิชชั่น
2.4 ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์
2.5 ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์สำนักงาน
2.6 ค่าน้ำประปา
2.7 ค่าวัสดุสิ้นเปลือง
2.7 ค่าน้ำมัน ค่าทางด่วน
2.8 ค่าธรรมเนียมธนาคาร

กรณีจ่ายค่าใช้จ่ายทุกครั้ง ควรจ่ายเป็นเช็ค หรือโอนเงินผ่านธนาคาร และเก็บสลิปไว้เป็นหลักฐาน แนบกับใบสำคัญจ่ายไว้บันทึกบัญชี

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!


ที่มา :Link

 552
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

แม้ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก จะมีหน้าที่บอกกรมสรรพากรว่าบริษัทมีพนักงานกี่คนแต่ละคนได้เงินเดือนเท่าไหร่และเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไปเท่าไหร่แต่ก็มีความแตกต่างในการกรอกรายละเอียดและช่วงเวลาในการนำส่ง กล่าวคือ
“ภาษี” เป็นรายจ่ายตัวหนึ่งที่สำคัญมากแล้วทุกคนต้องจ่าย นั่นก็คือ รายจ่ายเรื่อง “ภาษี” แต่ก็อย่างที่เรารู้กันว่าภาษีเป็นเรื่องที่ทุกคนยังไงก็ต้องจ่าย ไม่ว่าจะเป็นทางตรงอย่างช่วงต้นปีของทุกปีเราก็ต้องรายงานกับสรรพากรว่าเรามีรายได้เท่าไหร่ ต้องเสียภาษีเท่าไหร่ ถ้าใครจ่ายเกินไปก็ขอคืนได้ ถ้าใครจ่ายภาษีขาดไปก็จ่ายเพิ่ม หรือจะเป็นภาษีทางอ้อมที่บางครั้งก็จ่ายแบบไม่รู้ตัว เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ที่เวลาเราไปกินข้าวตามร้านค้าต่างๆแล้วมักจะมีตัวนี้แฝงมาด้วย
ภ.พ. 20 เป็นแบบฟอร์มที่ใช้ในการขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีสำหรับผู้ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีในประเทศไทย โดยผู้เสียภาษีที่จำเป็นต้องขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีประกอบด้วยบุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีตามกฎหมาย
เงินสดย่อยกับเงินกู้ยืมกรรมการมีความคล้ายกันตรงที่เป็นเงินของกิจการที่คนในกิจการต้องการนำเงินไปใช้จ่ายต่างๆ เหมือนกันทั้งคู่ แต่หากกิจการเกิดมีบัญชีเงินกู้ยืมกรรมการขึ้นมาจะไม่เป็นผลดีต่อกิจการ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น แล้วคนที่เพิ่งเริ่มต้นกิจการใหม่ๆ จะหลีกเลี่ยงอย่างไรได้บ้าง ในบทความนี้จะขอเปรียบเทียบหน้าที่ของเงินทางบัญชีทั้งสองแบบนี้ว่าต่างกันอย่างไร
กฎหมาย E-payment คือ ? พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) พ.ศ. 2562 เกิดขึ้นเพื่อรองรับระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมทางการอิเล็กทรอนิกส์
แรงจูงใจหลักในการที่จะทำให้บริษัทหนึ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลก็คงจะหนีไม่พ้นสิทธิที่บริษัทเสียภาษีบนฐานของผลกำไรของบริษัท กล่าวคือบริษัทสามารถหักรายจ่ายต่างๆออกจากรายได้ได้ตามจริง และเงินได้ของบริษัทที่จะเสียภาษีก็จะเป็นแค่ส่วนของผลกำไรของบริษัทเท่านั้น ไม่ใช่ต้องเสียจากรายได้หรือเหมารายจ่ายได้สูงสุดเพียง 60% เช่นที่ต้องเสียในระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์