ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล

ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล


“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
?”

ปัจจุบันถ้ากล่าวถึงผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  (Information System Auditor)  หลายท่านอาจเกิดความสงสัยว่าอาชีพนี้มีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง

ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยประเภทหลักๆ

1.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอิสระหรือภายนอก (External IS Auditor)
2.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน (Internal IS Auditor)
3.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกรณีพิเศษ (Special IS Auditor)



“ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล” ดังนั้นจะเห็นได้ว่าผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนสำคัญของหน่วยงาน ที่จะช่วยนำองค์กรบรรลุเป้าหมายขององค์กร

“สิ่งสำคัญของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยี”

       ทักษะและความรู้ (Skill and Knowledge)
ของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนสำคัญมาก



“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องมีประกอบด้วย 2 ส่วน”

1.ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ที่จำเป็นต้องมี เช่น วิสัยทัศน์ขององค์กร, กระบวนการตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, การบริหารความเสี่ยง, กระบวนการทางธุรกิจ,  ความมั่นคงปลอดภัยทางด้านสารสนเทศ,การวิเคราะห์เชิงทำนาย, ปัญญาประดิษฐ์

2.ทักษะ (Skill)

ทักษะที่จำเป็นต้องมี เช่น ทักษะทางด้านการคิดและการใช้เหตุผล,ทักษะด้านอารมณ์ ความรู้สึก, ทักษะด้านภาษา, ทักษะในการแสวงหาความรู้, ทักษะด้านการจัดการ, ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ, ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น, การติดต่อสื่อสาร และการเขียน/อ่าน เอกสารและรายงาน

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!



ขอบคุณบทความจาก : www.spu.ac.th 
 897
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 เป็นเอกสารประกอบการจดทะเบียนที่สำคัญอย่างหนึ่งเวลาที่เราเอาบริษัทไปทำธุรกรรมในด้านต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่เราไปเปิดบัญชีธนาคารในนามบริษัทธนาคารก็จะขอ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 ในบทความนี้เราจะมาดูกันว่าเอกสารดังกล่าวนั้นคืออะไร
การปิดงบการเงินแบบ normal อาจจะเป็นเรื่องไม่ normal อีกต่อไป ตั้งแต่มี Covid-19 เข้ามา แทบจะทุกธุรกิจได้รับผลกระทบจากโควิด เริ่มตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ และแน่นอนว่าผลกระทบเหล่านี้ย่อมต้องสะท้อนออกมาในงบการเงินอย่างถูกต้องและเหมาะสมเช่นกัน ก่อนจะปิดบัญชีปีนี้มีจุดเสี่ยงสำคัญอะไรในงบการเงินบ้างที่นักบัญชีต้องเรียนรู้ เราขออาสาพาทุกท่านมาทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันเลย ในบทความนี้ค่ะ
การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เป็นหน้าที่ของผู้ที่จ่ายเงินส่วนผู้ที่รับเงินได้นั้นจะเป็นผู้ที่ถูก โดยหากมีการหักภาษี ณ. ที่จ่ายกับจะใช้แบบยื่น ภ.ง.ด.3 แต่หากหักกับนิติบุคคลจะใช้แบบยื่น ภ.ง.ด.53 ใบบทความนี้เราจะพูดถึงการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่เป็นนิติบุคคลกัน
ในช่วง Covid-19 อย่างงี้ อยู่บ้านปลอดภัยที่สุด กรมสรรพากรแนะนำให้ผู้ประกอบการและประชาชนทำธุรกรรมทางภาษีที่บ้าน “TAX from Home”  ง่าย สะดวก ปลอดภัย ไม่ต้องเดินทาง ป้องกัน การแพร่ระบาดของ COVID – 19 และยังได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมการใช้บริการ ชำระภาษีออนไลน์จากธนาคารที่ร่วมโครงการอีกด้วย
ทุกๆ ปีของการนำส่งงบการเงิน เมื่อพูดถึงเรื่องการยื่นงบการเงิน นักบัญชีก็ต้องนึกถึงการยื่น บอจ.5 ควบคู่มาด้วย แล้วก็จะมีคำถามต่อว่า แล้ว บอจ.5 คืออะไร ต้องยื่นทำไม ในการทำธุรกิจในรูปแบบของนิติบุคคล ก็จะมีผู้ถือหุ้นหลายคน แล้วแต่ว่าแต่ละกิจการจะตกลงกัน ซึ่งการยื่นบอจ.5 ก็เป็นเหมือนการยืนยันในทุกๆปีว่า รายชื่อผู้ถือหุ้นปัจจุบันนี้ คือใครบ้าง แล้วสัดส่วนหุ้นคนละเท่าไหร่ ก็เลยมีความจำเป็นที่จะต้องนำส่งข้อมูลในทุกๆ ปีค่ะ เราไปดูรายละเอียดกัน

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์