sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30
ย้อนกลับ
ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30
เป็นการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากตาม ภ.ง.ด.50 หรือ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT: Corporate Income Tax) จะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ส่วนภ.พ. 30 (VAT) เป็นการรับรู้รายได้ตาม Tax Point ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการรับรู้ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ และประเภทรายได้ที่เกิดขึ้นด้วย
ตามตัวอย่างที่แสดงให้ดูในตารางสรุปด้านล่าง ดังนี้
ประเภทรายการ
ขายสินค้า (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อส่งมอบสินค้า
เช่าซื้อ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ส่งออก (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เมื่อส่งมอบหรือโอนความเสี่ยงตามตกลง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อผ่านพิธีศุลกากร FOB มาตรา 79 (1)
ให้บริการ (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : เกณฑ์สิทธิ์ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : เมื่อรับชำระเงิน
เงินสนับสนุน/ช่วยเหลือ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ค่าปรับ/สินไหม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
ส่งออกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้รายได้ตามมาตรา 70 ตรี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ส่งออกอัตรา 0
ขายทรัพย์สินเก่า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เฉพาะส่วนที่เป็นกำไร
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT ทั้งจำนวน
แจกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : ถือเป็นรายจ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : รับรู้ VAT
ดอกเบี้ย/เงินปันผล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) : รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) : ไม่รวมเป็นฐานภาษี
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!
ขอบคุณบทความจาก ::
Ddproperty
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
2052
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ใบเสนอราคา quotation คืออะไร?
ใบเสนอราคา quotation คืออะไร?
ใบเสนอราคา หรือ quotation คือเอกสารสำคัญสำหรับนักขาย และเจ้าเอกสารตัวนี้เองก็น่าจะเป็นอะไรที่นักขายทุกคนรู้จักกันดีอยู่แล้ว เรียกได้ว่าเป็นใบเบิกทางไปสู่การปิดดีลการขายเลยก็คงไม่เกินจริงไปนัก อย่างไรก็ตามนักขายจำนวนมากแม้จะรู้ว่าเจ้าใบเสนอราคานั้นหน้าตาเป็นอย่างไร แต่เมื่อต้องทำเองหลายต่อหลายครั้งหากบริษัทไม่ได้กำหนดมาตรฐานเอาไว้ นักขายเองก็มักจะออกใบเสนอราคาโดยไม่มี standard ที่ตายตัว นอกจากนี้ตัวนักขายเองก็อาจจะไม่ได้ใส่ใจกับเจ้าใบนี้เท่าที่ควรด้วย
ผู้ใช้ประโยชน์จากการบัญชี
ผู้ใช้ประโยชน์จากการบัญชี
ข้อมูลทางการบัญชีสื่อให้เห็นภาพที่แท้จริงของธุรกิจ เพื่อให้บุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถมอง เห็นถึงประสิทธิภาพและความสามารถในการดำเนินงานของธุรกิจทั้งในอดีต ปัจจุบันและพยากรณ์ในอนาคตได้ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลทางการบัญชีแบ่งได้ 2 กลุ่มดังนี้
โปรแกรมบัญชี WINSpeed ช่วยผู้สอบบัญชี (CPA) อย่างไร
โปรแกรมบัญชี WINSpeed ช่วยผู้สอบบัญชี (CPA) อย่างไร
ผู้ตรวจสอบบัญชี หรือ ผู้สอบบัญชี CPA (Certified Public Accountant) คือ ผู้ที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพพ.ศ.2547 มีสิทธิในการตรวจสอบและรับรองบัญชีของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทุกขนาด ทุกประเภท (ไม่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์) การสอบ CPA เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถในด้านบัญชีและงานที่เกี่ยวข้อง และเป็นที่ยอมรับและเคารพในวงกว้างในวงการบัญชีและการเงิน
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีจะต้องทำอย่างไร?
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีจะต้องทำอย่างไร?
โดยทั่วไปผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมายยกเว้นภาษี หรือที่ไม่ต้องเสียภาษี) ไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ การคำนวณภาษีให้ทำเป็น 3 ขั้น คือ
การกำหนดเลขที่บัญชี (Chart of Accounts)
การกำหนดเลขที่บัญชี (Chart of Accounts)
ของสมุดรายวันทั่วไปเป็นช่องที่ใช้บันทึกเลขที่บัญชีของบัญชีต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ในสมุดรายวันทั่วไป ซึ่งเลขที่บัญชีนี้จะต้องถูกกำหนดอย่างมีระบบ โดยตามมาตรฐานโดยปกติทั่วไปแล้ว เลขที่บัญชีจะต้องถูกกำหนดตามหมวดบัญชี โดยบัญชีทั้งหมดจะถูกแบ่งออกเป็น 5 หมวด
หนังสือรับรอง หักภาษี ณ ที่จ่าย 50 ทวิ คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร
หนังสือรับรอง หักภาษี ณ ที่จ่าย 50 ทวิ คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร
ก่อนจะไปรู้จักกับ 50 ทวิ เรามารู้จัก ภาษีหัก ณ ที่จ่ายว่าคืออะไร? กันก่อนดีกว่า แล้วทำไม่ต้องหัก ณ ที่จ่าย ?
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com