sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
News
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
หมวดหมู่ทั้งหมด
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
ค้นหา
News
339 รายการ
หัก ณ ทีจ่าย 8 อย่างที่ SME ต้องรู้!!
หัก ณ ทีจ่าย 8 อย่างที่ SME ต้องรู้!!
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ก็คือ “เงิน” ที่ผู้จ่ายเงิน “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายให้กับผู้รับเงิน แล้วเอาเงินนั้นไปให้กับรัฐ นั่นทำให้ผู้รับเงินไม่ได้รับเงินเต็มจำนวนครับ แต่จะได้เงินบวกกระดาษแผ่นนึงที่เรียกว่า “หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย” ส่วนผู้จ่ายเงินยังต้องจ่ายเต็มนะครับ เพียงแต่จ่ายให้กับผู้รับเงินโดยตรงส่วนนึง แล้วให้สรรพากรอีกส่วนนึง หน้าที่หัก ณ ที่จ่าย เป็นหน้าที่ของผู้จ่าย ทั้ง บุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
นิติบุคคล
1071 ผู้เข้าชม
การตรวจสอบทุจริต 7 สัญญาณเตือนและเทคนิคการตรวจสอบที่ได้ผล
การตรวจสอบทุจริต 7 สัญญาณเตือนและเทคนิคการตรวจสอบที่ได้ผล
จากอดีตถึงปัจจุบันปัญหาที่ทุกองค์กรจะพบคือ ‘การทุจริต’ โดยจะมีบุคคลที่ส่อแววว่าจะทำการทุจริตไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตามแต่ ซึ่งสร้างความเสียหายต่อภาพลักษณ์ขององค์กรเป็นอย่างมาก ปัญหาทุจริตจึงเป็นปัญหาที่ไม่ควรมองข้ามเป็นอันขาด ดังนั้นคุณจำเป็นต้องมีผู้ตรวจสอบระบบภายใน ระบบการเงินอยู่เสมอ เพื่อป้องกันช่องว่างที่จะทำให้บุคคลเหล่านั้นฉวยโอกาส ฉะนั้นเราลองมาดูแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างยั่งยืนและได้ประสิทธิภาพมากที่สุดกันดีกว่า
การกระทำทุจริต
การเงิน
การบัญชี
803 ผู้เข้าชม
หลัก 3 ข้อ เพื่อทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายให้ร้านค้า
หลัก 3 ข้อ เพื่อทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายให้ร้านค้า
ผู้ประกอบการหลายคนอาจเข้าใจว่าการทำบัญชีนั้นมีไว้สำหรับบริษัทใหญ่หรือเพื่อร้านค้าทั่วไปอย่างเดียวเท่านั้น แต่อันที่จริงแล้วพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ก็สามารถทำบัญชีให้กับร้านได้เหมือนกัน ซึ่งการทำบัญชีให้ร้านออนไลน์นั้นนอกจากจะเป็นการสรุปยอดขายและรายจ่ายในทุกๆ เดือนแล้ว ยังช่วยให้เรามีข้อมูลสรุปรายได้ที่ชัดเจนแน่นอนนอกเหนือจากตัวเลขที่ระบบของเว็บไซต์บันทึกเอาไว้อีกด้วย
1074 ผู้เข้าชม
กองทุนเงินทดแทน (กท.26ก, กท.20ก และ กท.25ค)
กองทุนเงินทดแทน (กท.26ก, กท.20ก และ กท.25ค)
หากธุรกิจของคุณเริ่มมีการจ้างลูกจ้างแล้วก็จะมีหน้าที่ขึ้นทะเบียนให้ลูกจ้างเป็นผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคมโดยนายจ้างจะจ่ายเงินประกันสังคมสมทบร่วมพร้อมกับที่หักออกจากรายได้ของพนักงานในทุกๆเดือนและยังมี "กองทุนเงินทดแทน" อีกกองทุนหนึ่งที่นายจ้างจะต้องจ่ายเงินทดแทนประจำปีให้ในช่วงทุกต้นปี ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ์นี้ก็ถึงเวลาต้องส่งรายงานค่าจ้างที่จ่ายจริงแก่สำนักงานประกันสังคมแล้ว
ผู้ประกันตน
ประกันสังคม
กองทุนเงินทดแทน
8812 ผู้เข้าชม
เกณฑ์คงค้างและเกณฑ์เงินสดทางบัญชี
เกณฑ์คงค้างและเกณฑ์เงินสดทางบัญชี
ในการทำงบการเงินนั้น นิยมใช้เกณฑ์ในการกำหนดและในแม่บทการบัญชีระบุไว้ 2 แบบคือ
599 ผู้เข้าชม
ข้อดีของการทำบัญชีชุดเดียว
ข้อดีของการทำบัญชีชุดเดียว
ทุกธุรกิจจะต้องจัดทำบัญชีขึ้นมาเพื่อนำไปยื่นเสียภาษี ยื่นกู้เงิน และเพื่อเป็นการตรวจสอบรายการรายรับรายจ่ายให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด เนื่องจากการทำบัญชีเดียวทำให้สรรพากรสามารถตรวจสอบบัญชีได้ง่ายกว่า และเป็นการทำบัญชีที่สุจริตที่ใคร ๆ ก็สามารถเห็นที่มาการเข้าออกของเงินได้อย่างสุจริต และไม่เป็นการจงใจหลีกเลี่ยงภาษี
บัญชีเดียว
475 ผู้เข้าชม
พ่อค้าแม่ค้าทั้งหลาย คนละครึ่งอย่างไรไม่กังวลเรื่องภาษี
พ่อค้าแม่ค้าทั้งหลาย คนละครึ่งอย่างไรไม่กังวลเรื่องภาษี
ร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการคนละครึ่งเฟส 3
คนละครึ่ง
381 ผู้เข้าชม
ภาษีคริปโท กรมสรรพากร แจงวิธีการ-รายละเอียด นักลงทุนต้องรู้!
ภาษีคริปโท กรมสรรพากร แจงวิธีการ-รายละเอียด นักลงทุนต้องรู้!
“กำไรจากการขายคริปโทเคอร์เรนซี เป็นเงินได้ตามประเภทที่ 4 จากทั้งหมด 8 ประเภท ดังนั้น ในการยื่นแบบแสดงเงินได้ภาษีบุคคลธรรมดา ก็จะมีช่องให้กรอก ดังนั้น มองว่าผู้ลงทุนน่าจะทราบอยู่ว่ามีเงินได้เท่าไหร่ ซึ่งเป็นการประเมินตัวเอง จึงแนะนำว่าให้กลับไปดูรายการเดินบัญชี (Statement) ต่าง ๆ ที่มีเงินเข้าบัญชีมา ว่าเรามีกำไรจากการเทรดคริปโทเคอร์เรนซีจำนวนเท่าไหร่ ประเมินตนเองเอาเฉพาะส่วนที่เป็นกำไร ส่วนที่ขาดทุนไม่ต้องนำมาคำนวณ”
คริปโทเคอร์เรนซี
ภาษีบุคคลธรรมดา
387 ผู้เข้าชม
เครดิตภาษีเงินปันผล
เครดิตภาษีเงินปันผล
สำหรับนักลงทุนที่ยังไม่ทราบว่า เครดิตภาษีเงินปันผลคืออะไร อยากเครดิตภาษีต้องทำอย่างไร แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าควรใช้เครดิตภาษีหรือไม่ เราลองมาไขปัญหาคาใจ เหล่านี้กัน
1250 ผู้เข้าชม
ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
"ใบลดหนี้" และ "ใบเพิ่มหนี้" โดยเอกสารทั้ง 2 ชนิดนี้เราจะใช้เมื่อมูลค่ารายการขายสินค้าหรือให้บริการมีการเปลี่ยนแปลงไปจากที่ตกลงกัน จะออกใบเพิ่มหนี้/ใบลดหนี้ได้ ต้องมีการออกใบกำกับภาษีแล้ว (ผู้ออก) ต้องออกใบเพิ่มหนี้ / ใบลดหนี้ ในเดือนที่มีเหตุที่กล่าวมาเกิดขึ้น (ผู้รับ) ต้องนําภาษีมูลค่าเพิ่มส่วนที่เพิ่ม หรือขาด ไปใช้ในเดือนที่ได้รับ
ใบลดหนี้
ใบเพิ่มหนี้
3456 ผู้เข้าชม
เช็ค! เงินสมทบ "ประกันสังคม" นำมาลดหย่อนภาษี ยังไงอะไรบ้าง
เช็ค! เงินสมทบ "ประกันสังคม" นำมาลดหย่อนภาษี ยังไงอะไรบ้าง
เทศกาล ยื่นภาษี ใกล้เข้ามาแล้ว ช่วงต้นปี 2565 กรมสรรพากร จะเปิดให้ประชาชาชนที่มีเงินได้หรือรายได้ตามเกณฑ์กำหนดยื่นภาษี "สำนักงานประกันสังคม" ชี้แจงแนะนำผู้ประกันตน ดังนี้
เงินสมทบ
กรมสรรพากร
ประกันสังคม
สำนักงานประกันสังคม
735 ผู้เข้าชม
นักบัญชีควรรู้ จะทำอย่างไรเมื่อต้องเจอกับ “ค่าเสื่อมราคา”
นักบัญชีควรรู้ จะทำอย่างไรเมื่อต้องเจอกับ “ค่าเสื่อมราคา”
เนื้อหาที่จะนำมาแบ่งปันให้ได้เรียนรู้ร่วมกันในครั้งนี้ เป็นเรื่องของ ‘ค่าเสื่อมราคา’ ที่ผมเองก็มักจะได้เห็น และได้พบปัญหาที่เกิดจากความเข้าใจผิดพลาดคลาดเคลื่อน หรือมีแนวปฏิบัติที่ออกจะสับสนไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี และแนวปฏิบัติของกรมสรรพากรตามที่ควรจะเป็น ซึ่งเมื่อพูดถึง ‘ค่าเสื่อมราคา’ เราจะสามารถแบ่งประเด็นที่เกี่ยวข้องออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ ประเด็นที่เกี่ยวกับหลักการบัญชี กับหลักการภาษี ซึ่งสรุปเป็นภาพรวมแบบนี้ครับว่า
นักบัญชี
ค่าเสื่อมราคา
1022 ผู้เข้าชม
ภาษีไม่มีตัวตนคืออะไร?
ภาษีไม่มีตัวตนคืออะไร?
สินทรัพย์บางอย่างไม่มีตัวตนซึ่งหมายความว่าไม่มีลักษณะทางกายภาพ อย่างไรก็ตามรายการดังกล่าวยังคงต้องถูกหักภาษีโดยรัฐบาลบางแห่ง ตัวอย่างของสินทรัพย์ที่ต้องใช้ภาษีประเภทนี้ ได้แก่ ลิขสิทธิ์สิทธิบัตรและความลับทางการค้าเพื่อตั้งชื่อไม่กี่รายการ ตามธรรมชาติแล้วภาษีไม่มีตัวตนเป็นรูปแบบของภาษีการขายตามปกติจะกำหนดเมื่อมีการขายสินทรัพย์ทางกฎหมายหรือการแข่งขัน อัตราภาษีมักถูกกำหนดโดยการเพิ่มเปอร์เซ็นต์ของมูลค่ารายการซึ่งโดยปกติจะอยู่ระหว่างหนึ่งถึงสิบเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการค้าปลีก แต่กฎนี้อาจแตกต่างกันระหว่างรัฐบาล
514 ผู้เข้าชม
การวางแผนภาษีสิ้นปีคืออะไร
การวางแผนภาษีสิ้นปีคืออะไร
การวางแผนภาษีสิ้นปีเป็นกระบวนการในการจัดการเรื่องการเงินเพื่อผลประโยชน์ทางภาษีประจำปีที่ดีที่สุด ซึ่งรวมถึงการกำหนดเวลาการขายการซื้อหรือการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเพื่อให้สามารถดำเนินการในกรอบเวลาที่ดีที่สุด การชะลอการกระทำหรือสร้างความมั่นใจว่ากิจกรรมบางอย่างเกิดขึ้นก่อนสิ้นปีจะมีผลอย่างมากต่อการเรียกเก็บภาษี มีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่อาจส่งผลกระทบต่อการวางแผนภาษีสิ้นปีเช่นกัน
424 ผู้เข้าชม
เงินสดย่อย VS เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินสดย่อย VS เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินสดย่อยกับเงินกู้ยืมกรรมการมีความคล้ายกันตรงที่เป็นเงินของกิจการที่คนในกิจการต้องการนำเงินไปใช้จ่ายต่างๆ เหมือนกันทั้งคู่ แต่หากกิจการเกิดมีบัญชีเงินกู้ยืมกรรมการขึ้นมาจะไม่เป็นผลดีต่อกิจการ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น แล้วคนที่เพิ่งเริ่มต้นกิจการใหม่ๆ จะหลีกเลี่ยงอย่างไรได้บ้าง ในบทความนี้จะขอเปรียบเทียบหน้าที่ของเงินทางบัญชีทั้งสองแบบนี้ว่าต่างกันอย่างไร
เงินสดย่อย
เงินกู้ยืมกรรมการ
922 ผู้เข้าชม
30864 ผู้เข้าชม
«
1
...
10
11
12
13
14
15
...
23
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com