sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไรดี
ย้อนกลับ
สิ่งสำคัญต่อไปที่ต้องทำในการจัดระบบบัญชีเพื่อการจัดการ คือการเลือกหา
โปรแกรมบัญชี
ที่เหมาะสมกับธุรกิจของเรามาใช้ เพื่อความมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประหยัดคนและประหยัดเวลา การเลือกโปรแกรมบัญชี ท่านจะต้องเปิดโอกาสให้ทีมงานที่เกี่ยวข้องของท่านได้มีส่วนร่วมในการสรรหาด้วยเพราะเคยเกิดขึ้นอยู่บ่อยๆว่าผู้บริหารเป็นผู้เลือกและตัดสินใจพอซื้อเสร็จก็โยนให้ฝ่ายบัญชีไปใช้ปรากฎว่าฝ่ายบัญชีรู้สึกว่าถูกบังคับก็เลยเกิดการต่อต้านหรือเกิดความไม่ชอบและไม่ให้ความร่วมมือจนในที่สุดก็กลายเป็นความล้มเหลว ปัจจัยที่จะต้องพิจารณาในการเลือกโปรแกรมบัญชีมีดังนี้
1.
งบประมาณ
ก่อนที่จะเริ่มต้นเลือกโปรแกรมบัญชี ท่านต้องจัดสรรงบประมาณไว้ล่วงหน้า ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายฮาร์ดแวร์ (
Hardware
)
Server & Client ,
ค่าใช้จ่ายซื้อลิขสิทธิ์ฐานข้อมูล
SQL,
โปรแกรมที่ใช้เขียนรายงาน ฯลฯ
2.
พิจารณา
คุณสมบัติของโปรแกรมบัญชี
สามารถรองรับกระบวนการทำงาน (
Business Process
) ของธุรกิจได้มากกว่า
70-80%
โปรแกรมบัญชีในตลาดนั้นมีหลากหลายแตกต่างกันไปทั้งลักษณะการใช้งานและราคา การที่จะเลือกซื้อโปรแกรมบัญชีท่านจะต้องสำรวจความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน (
User
) และผู้บริหาร (
Management Team
) โดยเรียงลำดับความสำคัญของงานที่ต้องการ ท่านควรพิจารณาว่าโปรแกรมบัญชีมีความยืดหยุ่นต่อการทำงานมากน้อยเพียงใด
?
ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับเปลี่ยนได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาโปรแกรมเมอร์ เช่น การเขียนรายงานต่างๆ
หลุมดำของโปรแกรมบัญชี (
Bug)
เป็นธรรมดาที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่อาจจะมีหลุมดำหรือ
Bug
ซึ่งจะก่อให้เกิดการหยุดชะงักในการประมวลผลหรือที่เรียกว่า
Error
เพื่อความปลอดภัย โปรดสอบถามผู้ขาย ว่าโปรแกรมนั้นมีผู้ใช้จำนวนกี่ราย
?
พัฒนาโปรแกรมมาแล้วกี่ปี
?
การเลือกโปรแกรมที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดจะปลอดภัยกว่า อีกทางหนึ่งคือเลือกโปรแกรมที่พัฒนาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงหรือมีประสบการณ์ทางด้านบัญชี
อีกประการหนึ่งโปรแกรมบัญชีที่ดีจะต้องมีเครื่องมือจัดการฐานข้อมูล เช่น ไฟดับในระหว่างกำลังสั่งประมวลผลข้อมูล โปรแกรมบัญชีที่ดีควรมีการสำรองข้อมูลอัตโนมัติ (
Backup
) เพื่อช่วยกู้ข้อมูลกลับมาได้ทันที
3.
พิจารณาคุณสมบัติของผู้จำหน่ายโปรแกรม
(
Software House
) สิ่งที่สำคัญพอๆ กันกับการเลือกโปรแกรมก็คือคุณต้องให้ความสำคัญในการพิจารณาผู้ที่จำหน่ายโปรแกรมบัญชี
เช่น
ทีมบริการหลังการขาย
ท่านจะต้องเลือกผู้ที่มีความรู้ในโปรแกรมนั้นเป็น
อย่างดี
และสามารถให้คำปรึกษาในการใช้งานได้จริง ท่านสามารถตรวจสอบได้ด้วยการสอบถามประสบการณ์จากผู้ที่ใช้โปรแกรมอย่างน้อย
3
ราย ขอรายชื่อลูกค้าอ้างอิงเพื่อสอบถามผู้ที่ใช้งานจริงว่ามีการใช้งานเป็นอย่างไร
?
มีความพอใจกับโปรแกรมนั้นหรือไม่
?
บริการหลังการขายของผู้ขายเป็นอย่างไร
?
และมีปัญหาใดที่เกิดขึ้นจากการใช้หรือไม่
?
โปรแกรมบัญชี
ระบบบัญชี
723
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
บทบาทนักบัญชียุคใหม่
บทบาทนักบัญชียุคใหม่
ในอดีต ภาพของนักบัญชีคือบุคคลที่ไม่ค่อยสมาคมกับใครเพราะวันทั้งวันเคร่งเครียดกับการ เดบิท เครดิต ตัวเลข บางครั้งใช้เวลาทั้งวันเพื่อจะควานหาตัวเลขที่ขาดหายจากบัญชีไปเพียงบาทสองบาท เพื่อให้ปิดงบลงตัว
ทำความรู้จักกับ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5
ทำความรู้จักกับ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5
บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 เป็นเอกสารประกอบการจดทะเบียนที่สำคัญอย่างหนึ่งเวลาที่เราเอาบริษัทไปทำธุรกรรมในด้านต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่เราไปเปิดบัญชีธนาคารในนามบริษัทธนาคารก็จะขอ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 ในบทความนี้เราจะมาดูกันว่าเอกสารดังกล่าวนั้นคืออะไร
ทำความรู้จักกับ “หนี้สูญ”
ทำความรู้จักกับ “หนี้สูญ”
ก่อนจะมาเป็น “หนี้สูญ” ต้องผ่านการบันทึกบัญชีลูกหนี้มาก่อน ซึ่งเกิดจากการขายที่ให้เครดิตแก่ลูกหนี้ ที่เรียกกันทั่วไปคือการขายเชื่อ หรืออาจเป็นการขายผ่อนชำระ รวมถึงการรับชำระเป็นงวด ๆ ในลักษณะการเช่าซื้อหรือลีสซิ่ง นอกจากลูกหนี้ที่เกิดจากการค้าแล้วอาจมีลูกหนี้ในลักษณะอื่น ๆ ทั้งนี้ กิจการที่มีลูกหนี้ย่อมมีสิทธิในการเรียกให้ลูกหนี้นั้นชำระเงินตามมูลหนี้ที่เกิดขึ้นตามที่ได้ตกลงกันไว้
ทฤษฎีการจัดทำงบการเงินรวม
ทฤษฎีการจัดทำงบการเงินรวม
งบการเงินรวมเป็นรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงผลประกอบการของกลุ่มกิจการ โดยงบการเงินรวมนำเสนอเสมือนว่ากลุ่มกิจการนั้นเป็นกิจการเดียว ฉะนั้นการจัดทำงบการเงินรวมมีความสำคัญมากต่อการที่นักวิเคราะห์ทางการเงิน หรือผู้ใช้งบการเงินที่ต้องการพิจารณางบการเงินของกลุ่มกิจการ โดยประโยชน์ของการวิเคราะห์งบการเงิน ยังคงไม่แตกต่างจากประโยชน์การวิเคราะห์งบการเงินของกิจการใดกิจการหนึ่ง คือทำให้ผู้ใช้งบการเงินรวมสามารถนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ตัดสินใจทางการเงิน การเลือกลงทุนในกลุ่มกิจการ หรือใช้พยากรณ์อนาคตผลประกอบการและฐานะทางการเงินของกลุ่มกิจการ หรือใช้เป็นเครื่องมือการวินิจฉัยปัญหาของการบริหารงาน การดำเนินงาน หรือใช้เป็นเครื่องมือประเมินผล (Evaluation) ของฝ่ายบริหาร
ภาษีนิติบุคคลมีอะไรบ้าง และต้องใช้เอกสารอะไรบ้างในการยื่นแก่สรรพากร
ภาษีนิติบุคคลมีอะไรบ้าง และต้องใช้เอกสารอะไรบ้างในการยื่นแก่สรรพากร
เปลี่ยนผู้ทำบัญชีของบริษัทต้องทำอย่างไร
เปลี่ยนผู้ทำบัญชีของบริษัทต้องทำอย่างไร
การทำบัญชีนั้น ต้องใช้เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี ได้แก่ บิลซื้อ และบิลขาย ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะให้เอกสารตัวจริงทั้งหมดกับกับผู้ทำบัญชีหรือสำนักงานบัญชี ทั้งหมดนี้เราต้องขอคืนจากผู้ทำบัญชีทั้งหมดกลับมา
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com