sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Download Brochure
Partners
Partners สำหรับสำนักงานบัญชี
รายชื่อ Partners สำนักงานบัญชี
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
ย้อนกลับ
ในปัจจุบันสายงานตรวจสอบบัญชีได้รับความนิยมจากผู้ที่จบการศึกษาด้านการบัญชีและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เนื่องจากกฎหมายระบุว่าให้งบการเงินของทุกบริษัทจะต้องผ่านการรับรองจากผู้ตรวจสอบบัญชีหรือ Certified Public Accountant (CPA) ซึ่งผู้ตรวจสอบบัญชีจะเป็นบุคคลภายนอกซึ่งเข้าไปทำหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินของบริษัท และแสดงความเห็นต่องบการเงินว่าเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดไว้หรือไม่ เพื่อที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่จะนำงบการเงินไปใช้ว่างบการเงินมีความถูกต้องและเที่ยงธรรม โดยก่อนที่จะสามารถทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีได้นั้นจะต้องผ่านกระบวนการฝึกหัดงานรวมไปถึงผ่านการทดสอบการหลายวิชา
ซึ่งในปัจจุบันสภาวิชาชีพบัญชีกำหนดให้มีการทดสอบจำนวน 6 วิชา ได้แก่ วิชาบัญชี1 วิชาบัญชี 2 วิชาสอบบัญชี 1 วิชาสอบบัญชี 2 วิชากฎหมาย วิชากฎหมายภาษี นอกจากจะต้องสอบผ่านทั้งหมดทั้ง 6 วิชาแล้ว ผู้ที่ต้องการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตยังต้องเข้ารับการฝึกหัดงานด้านการสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต โดยต้องมีระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า 3 ปี และมีชั่วโมงในการทำงานเกินกว่า 3,000 ชั่วโมงอย่างต่อเนื่องถึงจะสามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีได้ โดยผู้ที่มีความใฝ่ฝันอยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีนั้นจะต้องทำการยื่นเอกสารแจ้งการฝึกหัดงานกับทางสภาวิชาชีพบัญชี โดยการสอบ CPA นั่นถือเป็นการสอบเพื่อที่จะได้รับใบอนุญาตในการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี นอกจากนี้ CPA ยังเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับตัวผู้ตรวจสอบเองว่า มีความรู้ความสามารถทางบัญชีเป็นอย่างดี เนื่องจากต้องผ่านการทดสอบที่ค่อนข้างยากถึง 6 วิชา ประกอบกับการต้องฝึกงานมากกว่า 3,000 ชั่วโมง อีกทั้งยังจะช่วยเพิ่มความเจริญก้าวหน้าในสายงานด้านบัญชีอีกด้วย ทั้งนี้นอกจากคุณสมบัติด้านวิชาการที่ยอดเยี่ยมแล้ว การจะเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีที่ดีได้นั้นจะต้องคงไว้ซึ่งจรรยาบรรณและการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่อง
เลือกซื้อ Software บัญชี สำหรับสำนักงานบัญชี Click
บทความโดย : http://www.accvenue.com/
ผู้ตรวจสอบบัญชี
บัญชี
วิชาบัญชี
สอบบัญชี
งบการเงิน
1715
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
รับ-จ่าย เงินปันผล และผลทางภาษี
รับ-จ่าย เงินปันผล และผลทางภาษี
เงินปันผล (dividend) เป็นค่าตอบแทนที่บริษัทจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งมักเป็นการกระจายกำไร เมื่อบริษัทได้กำไรหรือส่วนเกิน บริษัทสามารถนำไปลงทุนในธุรกิจต่อ (เรียก กำไรสะสม) หรือสามารถจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นก็ได้ บริษัทอาจสงวนกำไรหรือส่วนเกินส่วนหนึ่ง
ความแตกต่างระหว่าง ภ.ง.ด.1 VS ภ.ง.ด.1ก
ความแตกต่างระหว่าง ภ.ง.ด.1 VS ภ.ง.ด.1ก
แม้ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก จะมีหน้าที่บอกกรมสรรพากรว่าบริษัทมีพนักงานกี่คนแต่ละคนได้เงินเดือนเท่าไหร่และเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไปเท่าไหร่แต่ก็มีความแตกต่างในการกรอกรายละเอียดและช่วงเวลาในการนำส่ง กล่าวคือ
กรมพัฒน์ฯ แนะ!!! ผู้ทำบัญชีเช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำ ก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎหมาย
กรมพัฒน์ฯ แนะ!!! ผู้ทำบัญชีเช็กลิสต์สิ่งที่ต้องทำ ก้าวสู่ผู้ทำบัญชีอย่างถูกกฎหมาย
นักบัญชีเป็นวิชาชีพเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจแบบแยกออกจากกันไม่ได้ ธุรกิจที่เป็นนิติบุคคล เช่น บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเป็นต้องมี “ผู้ทำบัญชี”ที่รับผิดชอบในการจัดทำบัญชีของธุรกิจ เพื่อให้มีการแสดงผลการดำเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของธุรกิจที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานการบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชีจึงได้มีการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีไว้ชัดเจน โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือธุรกิจ ต้องจัดให้มีผู้ทำบัญชีซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีกำหนด ดังนี้
ขั้นตอนการจ่ายภาษีของบริษัทนิติบุคคล
ขั้นตอนการจ่ายภาษีของบริษัทนิติบุคคล
ธุรกิจนิติบุคคลหรือการดำเนินธุรกิจที่มีเจ้าของกิจการอยู่รวมกันมากกว่า หนึ่งคนขึ้นไปนั้น ไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณะของบริษัททั่วไปทั้งธรรมดาและมหาชน ห้างหุ้นส่วนจำกัด กิจการร่วมค้า มูลนิธิหรือสมาคม ฯลฯ ที่ได้ไปทำการขึ้นจดทะเบียนไว้เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายกับทางหน่วยงานราชการ
“ที่ปรึกษาด้านบัญชีและภาษี” คือใคร สำคัญแค่ไหนต่อนักบัญชีและธุรกิจ?
“ที่ปรึกษาด้านบัญชีและภาษี” คือใคร สำคัญแค่ไหนต่อนักบัญชีและธุรกิจ?
“ที่ปรึกษาด้านบัญชีและภาษี” คือ ผู้ที่มีหน้าที่วางแผนและให้คำปรึกษาทางด้านบัญชีการเงินและกฎหมายภาษีให้กับองค์กร ทั้งกฎหมายภาษีตามประมวลรัษฎากรและการยื่นภาษีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท เพื่อลดความเสี่ยงทางภาษีในการถูกประเมินเบี้ยปรับและเงินเพิ่มหรือเพื่อการประหยัดภาษีของธุรกิจ
เจ้าหน้าที่สรรพากรจะรับรู้รายได้ที่เรามีได้อย่างไร
เจ้าหน้าที่สรรพากรจะรับรู้รายได้ที่เรามีได้อย่างไร
อยากวางแผนภาษีของกิจการให้ดี แต่ไม่รู้เลยว่าเจ้าหน้าที่สรรพากรจะรับรู้รายได้ที่เรามีได้อย่างไร คุณกำลังเป็นแบบนี้อยู่ใช่มั้ย?
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com