ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542 |
1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป 2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว |
1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30 | |||||
1.1 | การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ | ||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
||||
ภาษีซื้อ |
750
|
||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
250
|
||||
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 | 250 X 1.5% ต่อเดือน | ||||
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) | 250 X 2 เท่า | ||||
1.2 | การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน | ||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
||||
ภาษีซื้อ |
1,750
|
||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
0
|
||||
ภาษีที่ชำระไว้เกิน |
(750)
|
||||
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) | ไม่มี | ||||
2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด |
|||||
2.1 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ | ||||
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
1,600
|
600
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
750
|
400
|
(350)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
250
|
1,200
|
950
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
180
|
1,130
|
950
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 950 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(2) | 950 X 2 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 600 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 350 X 1 เท่า |
2.2 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
1,600
|
600
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
2,750
|
2,400
|
(350)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีที่ชำระไว้เกิน |
(1,750)
|
(800)
|
950
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ |
(1,820)
|
(870)
|
950
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(2) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 600 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 350 X 1 เท่า |
2.3 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
1,600
|
600
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
2,750
|
1,400
|
(1,350)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีชำระไว้เกิน |
(1,750)
|
200
|
1,950
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ |
(1,820)
|
130
|
1,950
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 130 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(2) | 200 X 2 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 600 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 1,350 X 1 เท่า |
2.4 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,000
|
1,600
|
600
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
750
|
2,000
|
1,250
|
ซื้อขาด | ||||
ภาษีต้องชำระ |
250
|
(400)
|
(650)
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
180
|
(470)
|
(650)
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(2) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 600 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | ไม่มี |
3. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30 |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
2,500
|
2,500
|
0
|
|||||
ภาษีซื้อ |
2,000
|
2,000
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระ |
400
|
500
|
100
|
|||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(20)
|
(20)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
380
|
480
|
100
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 480 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) | ไม่มี |
4. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
2,400
|
900
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
600
|
(400)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีต้องชำระ |
500
|
1,800
|
1,300
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
430
|
1,730
|
1,300
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) | ไม่มี |
5. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
2,400
|
900
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
600
|
(400)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีต้องชำระ |
500
|
1,800
|
1,300
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
430
|
1,730
|
1,300
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 1,300 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) | ไม่มี |
6. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด |
|||||
6.1 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
1,200
|
(300)
|
ขายเกิน | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
600
|
(400)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
500
|
600
|
100
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
430
|
530
|
100
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 100 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | 100 X 1 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายเกิน | ไม่มี | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 400 X 1 เท่า |
6.2 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
1,500
|
0
|
ขายถูกต้อง | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
600
|
(400)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีต้องชำระ |
500
|
900
|
400
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(950)
|
(950)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ |
(450)
|
(50)
|
(400)
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | 400 X 1 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้อง | ไม่มี | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 400 X 1 เท่า |
6.3 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
3,500
|
2,000
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
800
|
(200)
|
ซื้อเกิน | ||||
ภาษีต้องชำระ |
500
|
2,700
|
2,200
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(950)
|
(950)
|
0
|
|||||
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ |
(450)
|
1,750
|
2,200
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 1,750 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | 2,200 X 1 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 2,000 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 200 X 1 เท่า |
6.4 | แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน |
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง
|
||||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
2,400
|
900
|
ขายขาด | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
2,600
|
(1,600)
|
ซื้อขาด | ||||
ภาษีต้องชำระ |
500
|
(200)
|
(700)
|
คลาดเคลื่อน | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(70)
|
(70)
|
0
|
|||||
ภาษีต้องชำระสุทธิ |
430
|
(270)
|
(700)
|
|||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด | 900 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | ไม่มี |
7. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง |
|||||
7.1 | กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง |
แบบ ภ.พ. 30
|
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง | |||||
ม.ค. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42 | |||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
3,500
|
3,500
|
0 | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
1,200
|
1,200
|
0 | ||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
500
|
2,300
|
2,300
|
0 | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(750)
|
*(350)
|
*(250)
|
(100) | ||||
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ |
*(250)
|
1,950
|
2,050
|
100 | ||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 100 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | ไม่มี | ||||||
มาตรา 89(4) | ไม่มี |
7.2 | กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม |
แบบ ภ.พ. 30
|
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง | |||||
ม.ค. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42 | |||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
3,500
|
3,800
|
300 | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
1,200
|
1,000
|
(200) | ||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
500
|
2,300
|
2,800
|
500 | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(750)
|
*(350)
|
*(250)
|
(100) | ||||
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ |
*(250)
|
1,950
|
2,550
|
600 | ||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | 600 X 1.5% ต่อเดือน | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | 500 X 1 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด | 300 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 200 X 1 เท่า |
7.3 | กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน |
แบบ ภ.พ. 30
|
แบบ ภ.พ. 30
|
ความถูกต้อง
|
ผลต่าง | |||||
ม.ค. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42
|
ก.พ. 42 | |||||
ภาษีขาย (บาท) |
1,500
|
3,500
|
3,550
|
50 | ||||
ภาษีซื้อ |
1,000
|
3,420
|
3,400
|
(20) | ||||
ภาษีที่ต้องชำระ |
500
|
80
|
150
|
70 | ||||
ภาษีชำระไว้เกินยกมา |
(750)
|
*(350)
|
*(250)
|
(100) | ||||
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ |
*(250)
|
(270)
|
(100)
|
170 | ||||
เงินเพิ่ม | มาตรา 89/1 | ไม่มี | ||||||
เบี้ยปรับ | มาตรา 89(3) | 70 X 1 เท่า | ||||||
มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด | 50 X 1 เท่า | |||||||
มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน | 20 X 1 เท่า |