บิลที่ใช้ไม่ได้ ทิ้งเลย หรือ บันทึกบัญชีดี

บิลที่ใช้ไม่ได้ ทิ้งเลย หรือ บันทึกบัญชีดี


เอกสารประกอบการบันทึกค่าใช้จ่ายแบบไหนที่ไม่สามารถใช้ได้

ค่าใช้จ่ายที่ไม่ถือให้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี

  • รายจ่ายซึ่งมิได้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกิจการ, เป็นการส่วนตัว, เสน่หา
  • รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
  • รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง

บิลค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถนำมาใช้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี >> บันทึกบัญชีไป ก็ไม่ช่วยทำให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลน้อยลง

ทำไมถึงไม่ควรทิ้งบิลที่ใช้ได้ทางภาษี และควรบันทึกบัญชี

  • การบันทึกค่าใช้จ่ายทุกรายการ ทำให้เงินของกิจการตรงกับความเป็นจริง และลดปัญหาเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ
  • แม้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะไม่ช่วยทำให้เสียภาษีเงินได้น้อยลง แต่ก็ทำให้กำไรสะสมของกิจการลดลง ทำให้เราประหยัดภาษีเงินปันผล (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย10%)

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!


อบคุณบทความจาก :: kknaccounting
 613
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

แม้ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก จะมีหน้าที่บอกกรมสรรพากรว่าบริษัทมีพนักงานกี่คนแต่ละคนได้เงินเดือนเท่าไหร่และเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไปเท่าไหร่แต่ก็มีความแตกต่างในการกรอกรายละเอียดและช่วงเวลาในการนำส่ง กล่าวคือ
บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 เป็นเอกสารประกอบการจดทะเบียนที่สำคัญอย่างหนึ่งเวลาที่เราเอาบริษัทไปทำธุรกรรมในด้านต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่เราไปเปิดบัญชีธนาคารในนามบริษัทธนาคารก็จะขอ บอจ.2 บอจ.3 บอจ.5 ในบทความนี้เราจะมาดูกันว่าเอกสารดังกล่าวนั้นคืออะไร
ใบขอซื้อ (PR) เป็นเอกสารที่เป็นฉบับแรกสุดในบริษัทขนาดใหญ่ก่อนที่จะได้รับการอนุมัติเพื่อทำเอกสารใบสั่งซื้อ ส่วนใบสั่งซื้อ (PO) หรือ ใบเสนอราคา เอกสารใบสั่งซื้อนี้ สามารถใช้เป็นหลักฐานในการทำธุรกิจได้เป็นอย่างดี หากการสั่งซื้อนั้นเกิดความล่าช้ากว่ากำหนด หรือ มีข้อโต้แย้งที่ทำสินค้าให้เราไม่ได้อย่างที่ตกลงกันไว้
ประเทศไทยได้เริ่มจัดทำอนุสัญญา ความตกลงเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2505  กับประเทศสวีเดน และได้มีการเจรจาทำอนุสัญญากับต่างประเทศเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง โดยโครงสร้างทั่วๆ ไป ของอนุสัญญาประกอบด้วย 4 ส่วนใหญ่ ๆ คือ

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์